Page 188 -
P. 188

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-55




                                 นอกจากนี้  ไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด  เพื่อเรงรัดติดตามและประสานงาน
                  ในการแกไขปญหาขอเรียกรองของสมัชชาเกษตรกรภาคอีสาน  และแตงตั้งคณะทํางานระดับพื้นที่  เพื่อ
                  ตรวจสอบขอเท็จจริงละปญหา  ไดพิจารณาปญหาตามขอเรียกรองของสมัชชาเกษตรกรภาคอีสาน  (สกอ.)

                  และหลักการในการดําเนินการแกไข
                                ผลการดําเนินการแกไขปญหาตามขอเรียกรองของสมัชชาเกษตรกรภาคอีสาน  (สกอ.) ได
                  แบงออกเปน  4  กลุม  ปญหา คือ  1) กลุมปญหาปาไมและสิ่งแวดลอม  2)  กลุมปญหาหนี้สินเกษตรกร
                  3) กลุมปญหาพัฒนาสหกรณและวิถีชีวิตเกษตรกร  4)  กลุมปญหาที่ดิน ซึ่งคณะกรรมการรวมฯ  ไดมีมติดังนี้

                                1.  การพิจารณาแกไขปญหาที่ดิน  ปาไม  และสิ่งแวดลอม  ดังนี้
                                        1)  เห็นชอบหลักการในการแกไขปญหาตามที่สรุปมานี้
                                        2) หลักการในการพิจารณาในการแกไขปญหาที่ตองการรายละเอียดใหนําไป

                  พิจารณาในคณะอนุกรรมการปาไมและสิ่งแวดลอม  คณะอนุกรรมการกลุมปญหาที่ดิน  และ
                  คณะอนุกรรมการศูนยอํานวยการรวมแกไขปญหาเกษตรกรภาคอีสาน  เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาในแตละ
                  ปญหาไดชัดเจนยิ่งขึ้น
                                             3)  ปญหาใดที่ใกลเสร็จในระดับจังหวัดใหคณะอนุกรรมการในระดับจังหวัด
                  เรงรัดดําเนินการเสนอศูนยอํานวยการรวมแกไขปญหาเกษตรกรภาคอีสาน  เพื่อประมวลขอมูลเสนอ

                  คณะกรรมการรวมตอไป
                                             4)  ปญหาใดที่เปนปญหาใหม  จะไดเรงรัดแตงตั้งคณะทํางานในพื้นที่เพื่อ
                  พิจารณาขอเท็จจริงในแตละปญหาตอไป

                                             5) ใหคณะอนุกรรมการฯ  คณะทํางานฯ  ทั้งในสวนกลางและระดับจังหวัด
                  ตลอดจนหนวยงานที่เกี่ยวของเรงรัดดําเนินการขอ  2 – 4
                                     2.  การดําเนินการแกไขปญหา  กลุมปญหาที่ดิน  คณะอนุกรรมการกลุมปญหาที่ดินซึ่งมี
                  รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย  (นายวัฒนา  อัศวเหม)  เปนประธาน ไดดําเนินการในการแกไขปญหา  ดังนี้

                                        1)  จํานวนปญหาที่ดินตามขอเรียกรองของ  สกอ.  มี  17  ปญหา  โดยแยกเปน
                  รายจังหวัด  ดังนี้  จังหวัดศรีสะเกษ  10  ปญหา  จังหวัดยโสธร  1 ปญหา  จังหวัดเลย  2  ปญหา  จังหวัด
                  สุรินทร 1 ปญหา  จังหวัดอุบลราชธานี  1 ปญหา จังหวัดมหาสารคาม  2  ปญหา

                         วันที่ 20 พฤศจิกายน 2540 นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ไดแถลงนโยบายของรัฐบาลคณะที่

                  53  ตอรัฐสภามีสวนที่เกี่ยวของกับปาไมในนโยบาย การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ขอ 2.7 ดังนี้
                                “2.7 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                        2.7.1 สนับสนุนมาตรการกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสม โดย

                  คํานึงถึงสมรรถภาพของดินและศักยภาพของพื้นที่ เชน เขตพื้นที่เกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม
                  ชุมชน และพื้นที่ปาอนุรักษ
                                        2.7.2 สงเสริมการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมทั้งปาบกและปาชายเลน โดย
                  สนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นและประชาชนใหมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมและปลูกสรางปา

                  ชุมชน ตลอดจนบังคับใชกฎหมายเพื่อปองกันและปราบปรามการลักลอบตัดไมทําลายปาอยางเครงครัด”
                  (สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2540: 491)
                         วันที่  30  มิถุนายน 2541  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม ตามมติ
                  คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ ดังนี้
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193