Page 187 -
P. 187

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-54




                                1. สถานการณทั่วไป
                                  จากการสํารวจพื้นที่ปาชายเลนของประเทศไทยในป 2504  พบวามีพื้นที่รวมทั้งสิ้น
                  2,299,375  ไร หรือรอยละ 0.72  ของพื้นที่ประเทศ กระจายอยูในภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต

                  ครอบคลุม 22  จังหวัดชายฝงทะเลของประเทศ ซึ่งในระยะเวลาตอมาพื้นที่ปาชายเลนกลับลดลงอยาง
                  รวดเร็ว และมีแนวโนมอัตราการบุกรุกเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยในป 2536   พื้นที่ปาชายเลนคงเหลือเพียง
                  1,054,266 ไร หรือรอยละ 0.33 ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งคิดเปนพื้นที่ถูกทําลาย 1,245,109 ไร หรือรอยละ 54.15
                  เมื่อเทียบกับป 2504

                                  เมื่อเปรียบเทียบขอมูลรายภาคในชวงป 2518 - 2536 พบวาภาคใตมีการบุกรุกทําลาย
                  มากที่สุดถึง 26,711  ไรตอป รองลงมาคือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง ซึ่งมีพื้นที่ถูกทําลายเฉลี่ยปละ
                  12,483 และ 10,811 ไร ตามลําดับ

                                2. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาชายเลน
                                  พื้นที่ปาชายเลนที่ลดจํานวนลงมีสาเหตุจากการเขาทําประโยชนในพื้นที่ทั้งโดยการบุก
                  รุกและลักลอบตัดไมรวมทั้งการเขาทําประโยชนโดยไดรับอนุญาตเพื่อประกอบกิจกรรมตาง ๆ อาทิ
                                  1) การทําเหมืองแร
                                  2) การสรางทาเทียบเรือ

                                  3) การสรางแหลงชุมชน และกอสรางสาธารณูปโภค
                                  4) การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง
                                  5) การจัดเปนพื้นที่ทองเที่ยวชายทะเล


                                   หากเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาชายเลนรายจังหวัดในชวงป 2518 - 2536 พบวา
                  จังหวัดชลบุรีมีอัตราลดลงเฉลี่ยตอปมากที่สุดถึงรอยละ 5.42   เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
                  โดยเฉพาะการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลและการพัฒนาแหลงทองเที่ยว สวนจังหวัดกระบี่มีอัตราการลดลง

                  เฉลี่ยตอปนอยที่สุด จากขอมูลการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาชายเลนดวยภาพถายดาวเทียม ป 2536
                  พบวา ประเทศไทยมีพื้นที่ปาชายเลนเหลืออยูเพียง 1,054,266 ไร โดยมีการใชประโยชนในพื้นที่ปาชายเลน
                  ในเขตที่มีการจําแนก ไดแก นากุง 406,198.50 ไร แหลงชุมชน 31,007.00 ไร และพื้นที่ที่ใชทําประโยชน
                  อื่น ๆ ที่ไมสามารถจําแนกไดโดยใชภาพถายดาวเทียมอีกจํานวน 836,328.50 ไร
                                นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนการจัดการปาชายเลนของประเทศในสวนที่

                  กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมเสนอ ระยะเวลาดําเนินการ 5  ป (พ.ศ.  2542  -  2546)
                  วงเงินงบประมาณ 342,258,540 บาท โดยใหจังหวัดเปนผูดําเนินการโดยการมีสวนรวมขององคการบริหาร
                  สวนตําบล (อบต.)  และใหจัดตั้งงบประมาณภายใตแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมใน

                  ระดับจังหวัด โดยไดจัดกลุมเปนรายภาค ดังนี้
                                    1.  แผนการจัดการปาชายเลนของภาคกลาง ประกอบดวย 5  จังหวัด คือ
                  สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ
                                    2.  แผนการจัดการปาชายเลนของภาคตะวันออก ประกอบดวย 5  จังหวัด คือ

                  ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา
                                    3. แผนการจัดการปาชายเลนของภาคใต ประกอบดวย 12 จังหวัด คือ ชุมพร
                  สุราษฎรธานี   นครศรีธรรมราช   พัทลุง   สงขลา   ปตตานี ระยอง  พังงา  ภูเก็ต   กระบี่ ตรัง  และสตูล
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192