Page 154 -
P. 154

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-21




                         วันที่ 30 เมษายน 2519 หมอมราชวงศ เสนีย ปราโมช นายกรัฐมนตรีไดแถลงนโยบายคณะที่ 37
                  ตอสภาผูแทนราษฎร มีสวนที่เกี่ยวของกับปาไม ในนโยบายขอ 9 ดังนี้
                                “  9.  จะดําเนินการอนุรักษปาไม  และวางมาตรการปองกันปาไมของชาติไมใหถูกทําลาย

                  และเรงอนุรักปาไมที่เปนตนน้ําลําธารที่ถูกทําลายใหกลับคืนสูสภาพเดิม”   (สํานักงานเลขาธิการสภา
                  ผูแทนราษฎร, 2540: 209)

                         วันที่ 14 กันยายน 2519 คณะรัฐมนตรีมีมติเรื่อง ทบทวนมติ ครม. และคําสั่งเกี่ยวกับ  การปาไม

                  ใหแกไขมติ ครม. ในเรื่องนี้เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2518 ขอ 3 เสียใหมเปนดังนี้
                                “3. ผูที่เขาไปทํากินในปาสงวนแหงชาติอยูแลวคงใหอยูอาศัยทํากินตอไปได เวนแตปา
                  สงวนแหงชาตินั้นเปนปาซึ่งไดรับอนุญาติจาก  ครม.  ใหดําเนินการตามโครงการของรัฐบาล  และตั้งแต
                  บัดนี้เปนตนไป  หามมิใหผูใดบุกรุกปาสงวนแหงชาติเปนอันขาด  หากบุกรุกเขาไปใหเจาหนาที่ทําการ

                  จับกุมดําเนินการตามกฎหมายทุกราย ทั้งนี้ใหเจาหนาที่ประกาศใหราษฎรทราบทั่วกัน

                         2.4.4 นโยบายการอนุรักษพื้นที่ปาไมและเหตุการณที่สําคัญในชวงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ
                  และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 – 2524)
                                แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ไดกําหนดแผนการ

                  อนุรักษพื้นที่ปาไมไวในสวนที่ 3 แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเฉพาะเรื่อง บทที่ 1 การพัฒนาและ
                  อนุรักษทรัพยากรหลักทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมาย ในขอ 2.3 ดังนี้
                                        “2.3 เปาหมายการอนุรักษทรัพยากรปาไม โดยที่ปาไมเปนทรัพยากรที่มีความ

                  สําคัญยิ่งทางการพัฒนา แตไดถูกทําลายลงอยางรวดเร็ว ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 จึงกําหนดเปาหมาย
                  การอนุรักษทรัพยากรปาไมใหแนชัดดังนี้
                                               (1) กําหนดใหรักษาพื้นที่ปาไมไวใหเหลือรอยละ 37 ของพื้นที่ทั้ง
                  ประเทศเปนอยางตํ่า

                                               (2) ชะลอการบุกรุกทําลายปาจากอัตราปละ 4.8 ลานไร ใหเหลือ 0.4
                  ลานไรเปนอยางสูง
                                               (3) เรงการปลูกปาทดแทนใหมีอัตราสูงขึ้นจากปจจุบันใหไดเพิ่มขึ้นปละ
                  0.5 ลานไร และลดคาใชจายในการปลูกปาทดแทนใหตํ่าลง โดยเปลี่ยนวิธีการปลูกปาใหม

                                               (4) ขยายงานดานการปองกันรักษาปาเพิ่มเติม คือ ขยายเขตรักษาพันธุ
                                        สัตว
                  ปาจากเดิม 12 เขต ใหเปน 22 เขต และประกาศเขตปาอุทยานแหงชาติซึ่งเดิมมีอยู 13 แหงใหเพิ่มเปน 20 แหง
                  ภายในปสุดทายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

                                               (5) บูรณะบริเวณปาตนนํ้าลําธารใหไดเนื้อที่ครอบคลุมตนนํ้าลําธารที่
                  สําคัญๆ ทั่วประเทศ โดยเฉพาะในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”

                                 ในสวนแนวทางและมาตรการไดกําหนดไว ในขอ 2.4 ดังนี้

                                        2.4 แนวทางและมาตรการพัฒนา เพื่อใหบรรลุเปาหมายขางตน แนวทางการ
                  พัฒนาเพื่อรักษาทรัพยากรปาไมในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 มีดังนี้.-
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159