Page 98 -
P. 98

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





 พ.ศ. 2505  พ.ศ. 2505                        พ.ศ. 2505
 ลงนามความร่วมมือทางการศึกษากับมหาวิทยาลัย Hawaii   จัดโต้วาทีเพื่อระดมทุนช่วยเหลือผู้ประสบวาตภัย   สมาคมนิสิตเก่าฯ จัดงานลีลาศเกษตรกร และเริ่มมีการรื้อฟื้นงานวันเกษตรอีกครั้ง
 จนเป็นที่มาของสัญญา KU - U. of Hawaii  ที่แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช  หลังชะงักไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 ด้วยเหตุผลทางการเมือง




                กำ เนิดค่ายอาสาพัฒนา                                   ความช่วยเหลือจากต่างประเทศอื่นๆ
                  ท่ามกลางกระแสการพัฒนา ในปี พ.ศ. 2501 นิสิตจากมหาวิทยาลัย   นอกจากโครงการสัญญา KU-OSU ระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตร-
                เกษตรศาสตร์ได้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อตั้งกลุ่มนิสิตนักศึกษา  5    ศาสตร์กับมหาวิทยาลัย  Oregon  State  ความช่วยเหลือจาก
                มหาวิทยาลัย นิสิตกลุ่มนี้ได้จัดกิจกรรมค่ายอาสาสมัคร เพื่อการสัมมนา   มูลนิธิร็อคกีเฟลเลอร์  และสัญญา  KU-U.  of  Hawaii  แล้ว
                ขึ้นที่จังหวัดสระบุรี  โดยเน้นออกไปศึกษาข้อเท็จจริง  และร่วมมือในการ   ในทศวรรษนี้  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ยังได้รับความช่วยเหลือ
                ทำ  งานด้านการพัฒนาท้องถิ่นในภาคต่างๆ ของประเทศไทย     จากอีกหลายหน่วยงาน อาทิ ในปี พ.ศ. 2498 คณะผู้แทนจากสถาบัน
                  ในปี  พ.ศ.  2505  มีนิสิตเกษตรฯ  ที่เข้าร่วมค่ายอาสาฯ  ทั้งหมด    เศรษฐกิจและวัฒนธรรมแห่งมหานครนิวยอร์ก  (Council  on
                13 คน และในปีต่อมาตัวแทนจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับเกียรติ   Economic and Cultural Affairs, Inc., New York City) ได้เดินทาง
                ให้ดำ  รงตำ แหน่งประธานกลุ่มนิสิตนักศึกษา 5 มหาวิทยาลัย ซึ่งต่อมา   มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ  และบรรลุ   91
                จดทะเบียนองค์กรขึ้นเป็น “สมาคมนิสิตนักศึกษาสัมมนา”     ข้อตกลงมอบหนังสือและตำาราด้านบริหารกิจการไร่นา  52  เล่ม
                  ต่อมาในปี  พ.ศ.  2509  เริ่มมีการจัดตั้งกลุ่มนิสิตอาสาสมัครของ   พร้อมทั้งส่งผู้เชี่ยวชาญมาเป็นที่ปรึกษาด้านบริหารกิจการไร่นา
                มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เอง  และเริ่มปฏิบัติงานในปีถัดมา  โดยเน้น   และมอบทุนให้อาจารย์ไปศึกษาต่อในสาขาวิชา  Farm  Management
                จัดกิจกรรม พัฒนาและสร้างโรงเรียนในพื้นที่ชนบททุรกันดารหลายแห่ง    ยังประเทศสหรัฐอเมริกา จำานวน 2 ทุน
                นอกจากนี้แล้วยังรับหน้าที่ประสานวง  KU  Band  วงดนตรีไทย    ต่อมาในปี พ.ศ. 2505 สถาบันเศรษฐกิจและวัฒนธรรมแห่งมหานคร
                และวงดนตรีลูกทุ่งรวมดาวกระจุย  เพื่อเผยแพร่และส่งเสริมศิลป-   นิวยอร์กยังคงให้ความช่วยเหลือโดยมอบทุน  5  ทุน  ให้อาจารย์คณะ
                วัฒนธรรมอีกด้วย                                        เศรษฐศาสตร์สหกรณ์ไปศึกษาต่อยังสหรัฐอเมริกา  รวมทั้งได้ส่ง           72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย        ทศวรรษที่ 2
                                                                       ผู้เชี่ยวชาญมาประจำ  ที่คณะเศรษฐศาสตร์สหกรณ์
                                                                          เช่นเดียวกับสถาบันพัฒนาการเกษตรแห่งมหานครนิวยอร์ก
                                                                       (Agricultural  Development  Council,  Inc.,  New  York  City)
                                                                       ได้เข้ามาช ่ วยเหลือคณะเศรษฐศาสตร ์ สหกรณ ์   โดยจัดหาตำาราและ
                                                                       หนังสือเรียนเข้าห้องสมุด  และจัดหาทุนการศึกษาให้กับคณาจารย์
                                                                       ในคณะอื่นๆ ไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ รวม 33 ทุน และได้ส่งผู้เชี่ยวชาญ
                                                                       มาเป็นที่ปรึกษาประจำ  เช่นกัน






                  สมัยยังเป็นนิสิตเกษตรศาสตร์ ทั้งทดลองปลูกมะเขือเทศโดยไม่ใช้ดิน การเลี้ยงแพะ และขอไปฝึกงานกับอาจารย์
               ยังต่างจังหวัด การทำางานแบบลงมือปฏิบัติจริงได้ซึมซับวิธีคิดมา ทำาให้ทุกวันนี้ท่านมีบทบาทสำาคัญทั้งในด้านการศึกษา
               และถวายงานรับใช้โครงการในพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                  “ผมปรารถนาที่จะเห็นมหาวิทยาลัยวางแผนงานต่อเนื่องในอนาคตให้ยาวถึง 25 - 50 ปี และใกล้ชิดกับนิสิตมากขึ้น
               อย่างที่ผมเคยได้รับจากคณาจารย์ในอดีต สำาหรับอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้องมีจิตวิญญาณของ
               ความเป็นครูให้สูงอย่างยิ่ง และลดจำานวนนิสิตนักศึกษาให้น้อยลง แล้วให้อาจารย์ที่มีจิตวิญญาณของความเป็นครู
               ใกล้ชิดลูกศิษย์ให้มากขึ้น”

                                                                          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิศิษฐ์ วรอุไร
                                                                                    ศิษย์เก่า KU รุ่นที่ 12
                                                                 ประธานคณะทำางานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
                                                                               อันเนื่องมาจากพระราชดำาริฯ
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103