Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





            พ.ศ. 2501                  พ.ศ. 2501          พ.ศ. 2502                 พ.ศ. 2502
            ศาสตราจารย์อินทรี จันทรสถิตย์   ก่อตั้งวงดนตรีไทย   จดทะเบียนสหกรณ์ออมทรัพย์สำาหรับอาจารย์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โอนย้ายไปขึ้นตรงกับสำานักนายกรัฐมนตรี
            (หลวงอิงคศรีกสิการ) ดำารงตำาแหน่งอธิการบดี  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ข้าราชการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  เช่นเดียวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                                                                    มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และมหาวิทยาลัยศิลปากร




               ศาสตราจารย์อินทรี จันทรสถิตย์
                  ศาสตราจารย์อินทรี  จันทรสถิตย์  (หลวงอิงคศรีกสิการ)  เกิดที่
               บางพลัด  จังหวัดธนบุรี  (ขณะนั้น)  เมื่อวันที่  14  กันยายน  พ.ศ.  2442
               ชีวิตวัยเยาว์จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่  4  จากโรงเรียน
               วัดคฤหบดี  เมื่อปี  พ.ศ.  2451  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  8  โรงเรียน
               สวนกุหลาบวิทยาลัย  ในปี  พ.ศ.  2459  จากนั้นได้รับทุนรัฐบาลไทย
                                                        ~
               ไปศึกษาต่อที่ University of the Philippines at Los Banos ประเทศ
               ฟิลิปปินส์ สำ  เร็จปริญญา B.S. in Agriculture ในปี พ.ศ. 2464 จากนั้น
                                                                                                                                          87
               ได้รับทุนรัฐบาลไทยไปศึกษาต่อปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย Cornell ประเทศ
               สหรัฐอเมริกา และได้รับปริญญา M.S. สาขาเกษตร ในปี พ.ศ. 2466 นับเป็น
               คนแรกของประเทศไทยที่จบปริญญาโททางการเกษตรในต่างประเทศ
                                            ด้วยความที่เป็นคนเรียนเก่ง    หลวงอิงคศรีกสิการเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อรับพระราชทาน
                                         ศาสตราจารย์อินทรีจึงได้เริ่มต้น   นำ้าสังข์เนื่องในโอกาสอายุครบ 80 ปี ที่พระตำาหนักทักษิณราชนิเวศน์
                                         ชีวิตงานด้วยการเป็นครูฝึกหัดสอนที่
                                                                    ดำ รงตำ แหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในปี พ.ศ. 2519
                                         โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยตั้งแต่
                                         เมื่ออายุ 17 ปี เมื่อสำ  เร็จการศึกษา   ซึ่งนับเป็นตำ แหน่งทางราชการที่สูงที่สุด                  72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย        ทศวรรษที่ 2
                                         ปริญญาโทกลับมาจากประเทศ      ศาสตราจารย์อินทรีเป็นปูชนียบุคคลที่มีความรู้ความสามารถสูง
                                         สหรัฐอเมริกา ได้ไปประจำ  การเป็นครู   ในแวดวงการเกษตรของไทย  และเป็นหนึ่งใน  “สามเสือเกษตร”  ร่วมกับ
                                                                    หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ และพระช่วงเกษตรศิลปการ ทั้งสามเป็นผู้ผลักดัน
                                         ที่โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม
                                                                    ให้เกิดการยกฐานะจากวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย
                                         พระประโทณ  จังหวัดนครปฐม
                                         และได้ย้ายไปที่โรงเรียนฝึกหัดฯ    การดำารงตำาแหน ่ งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์ ต่อเนื่อง
                                         บางสะพานใหญ่  จังหวัดประจวบ-   ยาวนาน  เป็นผลให้มหาวิทยาลัยเกิดการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด
                                         คีรีขันธ์ และที่ทับกวาง จังหวัดสระบุรี    โดยเฉพาะการก่อสร้างอาคารและถนนหนทาง  ศาสตราจารย์อินทรียังเป็น
                                                                    ผู้ที่ใส่ใจต่อสวัสดิภาพของนิสิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัย  และมีระเบียบ
                                         เช่นเดียวกับการย้ายโรงเรียนฝึกหัดฯ
                หลวงอิงคศรีกสิการ        ไปหลายแห ่ งตามลำาดับ  และถูก   สูง  มีเรื่องเล่ากันว่า  ทุกเช้าตรู่  ท่านจะขับรถไปรอบบริเวณมหาวิทยาลัย
                สมัยเรียนอยู่ที่ฟิลิปปินส์
                                         โอนย้ายไปเป็นอาจารย์ในโรงเรียน   เพื่อตรวจตราความเรียบร้อยด้วยตัวเองทุกวัน  หากพบสิ่งไม่เรียบร้อย
               สามัญอยู่ระยะหนึ่ง ก่อนกลับมารับตำ  แหน่งอาจารย์ใหญ่ที่โรงเรียนฝึกหัดฯ    จะลงไปตำ  หนิหรือสั่งการทันที  หรือบางครั้งเดินไปตรวจความเรียบร้อยที่
               โนนวัด จังหวัดนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2475              หอพักนิสิตโดยไม่บอกกล่าวล่วงหน้า  ท่านยังเป็นผู้ริเริ่มให้มีการแข่งขันกีฬา
                                                                    ภายในและส่งเสริมให้นิสิตหันมาเล่นกีฬา  ด้วยการสนับสนุนการก่อสร้าง
                  ด้วยยุคนั้นราชการไทยยังขาดแคลนบุคลากรด้านวิชาการเกษตรอยู่
                                                                    อาคารฝึกซ้อมกีฬา (อาคารเทพศาสตร์) และสระว่ายนำ้า
               มาก  ศาสตราจารย์อินทรีจึงย้ายไปประจำ  ตำ แหน่งในหลายหน่วยงาน  และ
                                                                      ศาสตราจารย์อินทรีอุทิศตนให้แวดวงเกษตรตลอดชีวิต แม้จะเกษียณอายุ
               ดำ รงตำ แหน่งสำ คัญๆ ในแวดวงเกษตรกรรมหลายตำ แหน่ง ตำ แหน่งสุดท้าย
               ก่อนเกษียณอายุเพื่อรับพระราชทานบำ นาญ ในปี พ.ศ. 2499 คือ อธิบดีกรม   ราชการไปแล้ว ศาสตราจารย์ระพี สาคริก บันทึกถึงศาสตราจารย์อินทรี
               เกษตร (เปลี่ยนชื่อเป็นกรมกสิกรรมในปี พ.ศ. 2495) ซึ่งศาสตราจารย์อินทรี   ไว้ส่วนหนึ่งในหนังสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพศาสตราจารย์อินทรี
                                                                    จันทรสถิตย์ ว่า “...ท่านเป็นผู้ใหญ่ที่ทุ่มเทชีวิตให้กับงานจริงๆ... แม้มีเหตุการณ์
               ให้เหตุผลว่า “ให้คนอื่นได้เป็นอธิบดีบ้าง”
                                                                    บางอย่าง แม้สองยามตีหนึ่ง ผมสามารถหมุนโทรศัพท์รายงานท่านทราบได้
                  ศาสตราจารย์ อินทรีดำารงตำาแหน่ งอธิการบดีมหาวิทยาลัย
               เกษตรศาสตร์ 4 สมัย คือ สมัยที่ 1 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 - 2504 สมัย   ทันทีและแทบไม่ต้องเดาอะไรเลย  หลังการรายงานไม่นานนัก  ท่านจะขับรถ
               ที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. 2504 - 2506 สมัยที่ 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2506 -2508    มาด้วยตนเอง  ถึงเหตุการณ์ได้โดยไม่ชักช้า  ผมเชื่อมั่นว่า  นี่คือความจริงใจ
               และสมัยที่ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2510 -2512 นอกจากนี้ยังได้รับโปรดเกล้าฯ ให้   จากท่าน...”
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99