Page 90 -
P. 90

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





            พ.ศ. 2496              พ.ศ. 2497             พ.ศ. 2497                                      พ.ศ. 2497
            โรงเรียนวนศาสตร์ที่จังหวัดแพร่   ก่อตั้งสมาคมนิสิตเก่า  รับโอนคณะสัตวแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ตามนโยบาย  วางศิลาฤกษ์ก่อสร้างหอประชุม
            เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยวนศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  รัฐบาลที่ต้องการให้การศึกษาด้านสัตวแพทยศาสตร์ควบคู่ไปกับวิชาสัตวบาล   และเปิดเรือนพยาบาล
                                                         และจัดตั้งคณะวิศวกรรมชลประทานที่โรงเรียนการช่างชลประทาน  (สร้างจากการขอรับบริจาค)


                  ผลสืบเนื่องทางการเมืองจากนโยบายระหว่างประเทศของ        การขยายงานของมหาวิทยาลัยเกิดจากการได้รับโอนย้าย
            สหรัฐอเมริกาช่วงสงครามเย็น ทำาให้พันธมิตรอย่างประเทศไทย  โรงเรียนต่างๆ มาไว้ในสังกัด เริ่มจากในปี พ.ศ. 2496 โรงเรียน
            ได้รับอานิสงส์ด้านความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ หลากหลายสาขา   วนศาสตร์ที่จังหวัดแพร่ได้เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยวนศาสตร์ สังกัด
            โดยเฉพาะภาคเกษตร ซึ่งสหรัฐฯ มองว่าเป็นรากฐานสำาหรับ  กรมป่าไม้ และมีอธิบดีกรมป่าไม้เป็นคณบดีโดยตำาแหน่ง ในปีต่อมา
            การพัฒนาประเทศ ดังนั้นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ซึ่งขณะนั้น  คือ พ.ศ. 2497 จึงได้โอนย้ายการเรียนการสอนมายังบริเวณ

            ยังมีฐานะเป็นกรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังกัดกระทรวง  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน และในปี พ.ศ. 2499 ได้เปิด
            เกษตราธิการ จึงได้รับการสนับสนุนด้านความช่วยเหลือในหลาย  สอนระดับปริญญาตรีอีกครั้ง หลังจากระงับไปหลังเปิดสอนในปี
            โครงการด้วยกัน ทั้งการมอบทุนให้บุคลากรไปดูงานและศึกษาต่อ  พ.ศ. 2488 ได้เพียงสองรุ่น วิทยาลัยวนศาสตร์นี้เป็นจุดกำาเนิดของ      83

            ยังต่างประเทศ หรือจัดส่งผู้เชี่ยวชาญมาวางรากฐานด้านการศึกษา  คณะวนศาสตร์ในอีกหลายปีต่อมา
            เกษตรแผนใหม่ในไทย                                            ในปลายปี พ.ศ. 2497 รัฐบาลมีนโยบายปรับปรุงระบบการ
                  ทศวรรษที่ 2 เริ่มต้นด้วยความปลื้มปีติ เมื่อพระบาท-  ศึกษาวิชาสัตวแพทย์ให้สัมพันธ์กับวิชาสัตวบาลซึ่งเปิดการเรียน
            สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำาเนินมายังบางเขนเพื่อเปิด   การสอนอยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก่อนหน้า จึงได้โอนคณะ
            “งานวันเกษตร” ในวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2496 งานดังกล่าว  สัตวแพทยศาสตร์จากกรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กระทรวง                       72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย        ทศวรรษที่ 2

            แต่เดิมคืองาน “ตลาดนัดเกษตรกลางบางเขน” มีกำาหนดจัด 3 วัน   สาธารณสุข มายังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกลายเป็น
            เพื่อเผยแพร่ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ทางการเกษตร ในศุภวาระ  คณะสัตวแพทยศาสตร์ หลักสูตร 5 ปี
            นี้เอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯ มาในพิธีเปิดอาคารเรียน      ด้วยการเรียนการสอนและจำานวนนิสิตที่เพิ่มมากขึ้น ใน

            ตึกชีววิทยา และตึกหอสมุดกลาง (หลังเดิม) ณ มหาวิทยาลัย ทศวรรษนี้จึงมีการก่อสร้างอาคารเรียนใหม่ๆ อาคารเหล่านี้ปัจจุบัน
            เกษตรศาสตร์อีกด้วย                                      เหลือเพียงชื่อหรือไม่ก็ถูกโอนย้ายเป็นที่ทำาการของหน่วยงาน
                                                                    อื่นๆ ทั้งตึกชีววิทยา ตึกห้องสมุดเก่า (พ.ศ. 2496) อาคารเกษตร





                   สำานักส่งเสริมและเผยแพร่ฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีบทบาทสำาคัญในการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านเกษตรกรรม
               สู่สาธารณชนและเกษตรกร อ.บุญธรรมเป็นผู้มีบทบาทสำาคัญในการปฏิบัติงานด้านนี้มาตั้งแต่สมัยยังเป็นนิสิต รวมทั้ง
               ท่านยังเป็นผู้จัดทำาคู่มือนิสิตสำาหรับนิสิตใหม่อีกด้วย
                   “ในวาระครบรอบ 72 ปี อยากให้มหาวิทยาลัยลองมองย้อนกลับไปทบทวนเรื่องราวที่ผ่านมาทั้งความสำาเร็จและ
               ล้มเหลว และต้องการให้นิสิตรักกันแน่นแฟ้นเฉกเช่นเมื่อในอดีต อยากเห็นมหาวิทยาลัยมองย้อนหลัง ปรับปรุงจุดอ่อน
               ถ้าทำาได้ก็เก็บข้อมูล ตัวแทนแต่ละรุ่นทำาอะไร มหาวิทยาลัยทำาอะไร ทำาเป็นการวิจัย”




                                                                         ศาสตราจารย์ ดร.บุญธรรม จิตต์อนันต์
                                                     ผู้จัดตั้งสำานักส่งเสริมและเผยแพร่ข่าวสารเกษตรศาสตร์และคู่มือนิสิต
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95