Page 95 -
P. 95
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทศวรรษที่ 2
พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2503
นายประเชิญ กาญจโนมัย ก่อตั้งสำานักส่งเสริม มีภารกิจส่งเสริมและ ผู้เชี่ยวชาญปรมาณูจาก The International Atomic Energy
เป็นนิสิตไทยคนแรกที่จบปริญญาโท เผยแพร่ความรู้ทางการเกษตรต่อสาธารณะ Agency (IAEA) มาดำาเนินงานด้านวิชาปรมาณู (ในปี พ.ศ.
2511 เปลี่ยนเป็นภาควิชารังสีไอโซโทป)
งานตลาดนัดเกษตรกลางบางเขน
ก่อนหน้าที่จะมีงานเกษตรแฟร์เช่นในปัจจุบัน มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ในอดีตช่วงทศวรรษที่ 1 - 2 เคยจัดงานประจำ ปีบางเขน
มาแล้ว ในงานนั้นเป็นลักษณะของการประชาสัมพันธ์ผลงานของ
มหาวิทยาลัย และแสดงผลผลิตพืชพรรณและสัตว์ให้กับประชาชนทั่วไป
โดยใช้ชื่อว่า “งานตลาดนัดเกษตรกลางบางเขน” ศาสตราจารย์จรัด
สุนทรสิงห์ เคยบันทึกไว้ว่า งานนั้นเป็นที่นิยมของบรรดาประชาชนอย่าง
มาก และเป็นตลาดที่เปิดโอกาสให้เกษตรกรและพ่อค้าแม่ค้านำ ผลผลิตมา
88
วางจำ หน่ายกันได้อย่างเต็มที่ “…ประชาชนหลั่งไหลกันมาชมมากมาย สำ นักหอสมุด อาคารหอสมุดกลาง
ทุกปี มากันตั้งแต่ตีสามตีสี่ ผักหญ้าโดยเฉพาะมะเขือเทศ ทั้งของนิสิต
72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย ทศวรรษที่ 2 ผ่าเป็นชิ้นๆ ใส่จานวางไว้บนโต๊ะหลายสิบจาน มีเกลือให้จิ้มด้วย หมดแล้ว เกษตราธิการ และกรมกสิกรรม (กรมวิชาการเกษตรในปัจจุบัน) ได้ตกลงรวมห้องสมุด
และของคณะเกษตรที่ปลูกไว้หลายสิบแปลง อันตรธานหายวับไปกับตา
ในปี พ.ศ. 2494 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งขณะนั้นยังสังกัดกระทรวง
ไม่ถึงครึ่งวัน เราก็ไม่ว่าอะไร ปล่อยให้เขาสนุกกันเต็มที่...”
หรือ “…คุณหลวงสุวรรณฯ ท่านหลักแหลมเอามะเขือเทศที่เราปลูก
เล็กๆ สองแห่งเข้าไว้ด้วยกัน คือ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และห้องสมุด
ของสถานีทดลองของกรมกสิกรรม โดยใช้ชื่อว่า หอสมุดกลาง ระหว่างนั้นมหาวิทยาลัย
เติมใหม่ หมดไปหลายร้อยผลในปีหนึ่งๆ คนชิมครั้งแรก บ้างก็บ้วนทิ้ง ทำ
ได้เชิญนางมาร์เบล ไรท์ (Mrs. Marbel Wright) ผู้เชี่ยวชาญในระบบการจัดหมู่
หน้าเปรี้ยวก็มี บางคนก็ดูจะชอบ หยิบชิ้นที่สองที่สามเข้าปากเคี้ยวตุ้ยๆ
เดี๋ยวนี้เป็นอย่างไร ทุกคนกินเป็นกันหมดไม่ว่าลูกเล็กเด็กแดง...”
หนังสือตามห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน จนนับได้ว่าเป็นห้องสมุดแห่งแรกในประเทศไทย
งานตลาดนัดเกษตรกลางบางเขนเปลี่ยนชื่อมาเป็น “งานวันเกษตร”
ที่ใช้ระบบนี้
ในปี พ.ศ. 2496 แต่หยุดชะงักไม่ได้จัดต่อเนื่อง เนื่องจากเหตุผลทางการเมือง
ห้องสมุดนับเป็นดัชนีชี้วัดการเติบโตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้เป็น
ที่ผันผวน และกลับมาดำ เนินการต่ออีกในงาน ”ลีลาศเกษตรกร” ในปี
หอสมุดกลางได้ย้ายไปอาคารหลังใหม่ ซึ่งเป็นอาคาร 2 ชั้น เนื้อที่ประมาณ 528
พ.ศ. 2506 จากนั้นจึงพัฒนาเรื่อยมา โดยร่วมกับกระทรวงเกษตรฯ
บ้าง และเปลี่ยนชื่อเป็นงานเกษตรแฟร์ในปัจจุบัน อย่างดี การขยายอาคารสถานที่สะท้อนว่ามีผู้ใช้บริการเพิ่มมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2496
ตารางเมตร มีที่นั่งอ่าน 60 ที่ และได้ย้ายอีกครั้งในปี พ.ศ. 2508 ไปยังอาคาร
หลังใหม่ ซึ่งก่อสร้างโดยการสนับสนุนขององค์การวิเทศกิจแห่งสหรัฐอเมริกา
ร่วมกับรัฐบาลไทย ซึ่งเป็นอาคาร 3 ชั้น และมีที่นั่งอ่านได้ 300 ที่
ในปี พ.ศ. 2520 หอสมุดกลางได้รับการยกฐานะเป็นสำานักหอสมุด และปี พ.ศ.
2523 ได้ย้ายไปยัง “อาคารช่วงเกษตรศิลปการ” ซึ่งเป็นอาคาร 3 ชั้น จุที่นั่งอ่านได้กว่า
1,500 ที่นั่ง อาคารดังกล่าวก่อสร้างโดยงบประมาณจากโครงการเงินกู ้ เพื่อพัฒนา
มหาวิทยาลัย และเป็นอาคารของสำานักหอสมุดยาวนานมากว่า 25 ปี ในปีนี้
สำานักหอสมุดยังได้รับมอบหมายจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
ให้เป็นศูนย์สนเทศทางการเกษตรแห่งชาติ (Thai National AGRIS Centre) อีกด้วย
สำานักหอสมุดมีการพัฒนาด้านระบบมาอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2543
เริ่มให้บริการวารสารอิเล็กทรอนิกส์และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่าย
ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 อาคาร “เทพรัตน์วิทยาโชติ” ก่อสร้างเสร็จ และเปิดให้บริการ
ในฐานะอาคารเรียนรู้ (Kasetsart University Learning Center – KULC) และ
ห้องสมุด สังกัดสำานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาจนถึงปัจจุบัน
บรรยากาศงานวันเกษตรแห่งชาติ ส่วนอาคารช่วงเกษตรศิลปการได้ปรับปรุงตามโครงการสร้างขุมกำาลังบุคลากร
ด้านอนุรักษ์พลังงาน (BEAT 2010) และเปิดใช้บริการอีกครั้งในต้นปี พ.ศ. 2554