Page 107 -
P. 107

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                       บทที่ 4


               กรณีศึกษ�: ผลกระทบท�งเศรษฐกิจจ�กโครงก�รตัวอย่�ง





            4.1 ข้อมูลเบื้องต้นของโครงก�ร“โคเนื้อกำ�แพงแสน”

                     มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ดำาเนินงานตามโครงการวิจัย
            “โคเนื้อกำาแพงแสน”  มาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานโดยเริ่มต้นตั้ง

            แต่ปี  พ.ศ.  2506  จนถึงปัจจุบัน  ซึ่งการพัฒนาโคพันธุ์กำาแพงแสน  เกิด
            จากความร่วมมือของบุคคลหลายกลุ่ม  ทั้งบุคลากรและกลุ่มนักวิชาการ
            ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ  ทั้ง

            ในด้านการพัฒนาพันธุ์ การผสมเทียม สุขภาพสัตว์ การผลิตน้ำาเชื้อ และ
            การตลาดรวมทั้งหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องภายในมหาวิทยาลัย  อาทิ

            ศูนย์วิจัยและพัฒนาการผลิตกระบือและโค  สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง
            มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯ ซึ่งการพัฒนา
            โคพันธุ์กำาแพงแสนไม่ได้มุ่งเน้นในด้านการเลี้ยงโคเพียงอย่างเดียว แต่เน้น

            การพัฒนาระบบการผลิตให้ครอบคลุมในทุกด้าน  จึงเกิดความร่วมมือกับ
            หน่วยงานภายนอกเพิ่มขึ้น เช่น การร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ที่ให้การสนับสนุน

            ในเชิงนโยบายและการส่งเสริมพัฒนา  สำานักงานทหารพัฒนาที่สนับสนุน
            น้ำาเชื้อโคพันธุ์ชาโรเลส์  และผลิตน้ำาเชื้อจากโคที่ผ่านการทดสอบเพื่อนำาไป
            เผยแพร่  สมาคมฯและสหกรณ์โคเนื้อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ช่วยใน

            การดำาเนินการทางธุรกิจ ขยายการลงทุน และขยายตลาดโคเนื้อ เป็นต้น
            อย่างไรก็ตาม ความสำาเร็จของการพัฒนาโคเนื้อกำาแพงแสน ยังต้องขึ้นอยู่

            กับเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อพันธุ์กำาแพงแสนเป็นสำาคัญ  เพราะต้องเป็นผู้ที่
            มีความเชื่อมั่น  สละเวลา  และมีความพร้อมทั้งในด้านกำาลังกาย  กำาลังใจ
            และกำาลังทรัพย์ ในการผลิตโคเนื้อกำาแพงแสนเพื่อให้ได้โคที่สามารถใช้เป็น




                                                                             89
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112