Page 262 -
P. 262

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

               244   การตรวจวัดสภาพอากาศและการแปลความหมาย








               9.4  สภาพอากาศที่คาดหมายได้จากผลการตรวจอากาศ


                     9.4.1  ความดันอากาศสูงและความดันอากาศต ่า


                            ลักษณะความดันอากาศสูงและความดันอากาศต ่า สังเกตได้จากแผนที่แสดงเส้นชั้น

               ความดันอากาศ (isobar) บริเวณที่มีความดันอากาศต ่าแสดงโดยสัญลักษณ์  L  บริเวณที่มีความดัน
               อากาศสูงแสดงสัญลักษณ์   H    บริเวณที่มีความดันอากาศต ่าจะมีกระแสอากาศไหลเข้าและลอย

               ขึ้น และบริเวณที่มีความดันอากาศซึ่งจะมีกระแสอากาศไหลออกและจมตัวลง (ภาพที่ 9.13)



                                                         Divergence         Convergenc
                                                                                  e












                                                   Surface Map


                   แผนที่อากาศพื้นผิวโลก             ความดันอากาศต ่าและความดันอากาศสูง

                  ภาพที่  9.13  แผนภาพแสดงเส้นชั้นความดันอากาศ ความดันอากาศต ่าและความดันอากาศสูง

                             ที่มา  :  ดัดแปลงจาก Ahrens  (1988)



                            ในแผนภาพที่อากาศประจ าวัน บริเวณความดันอากาศต ่า หมายถึง สภาวะอากาศที่
               มีเมฆและฝนมากหรือน้อยอยู่ที่ความแตกต่างของความดันอากาศ  ถ้าความดันอากาศบริเวณ
               โดยรอบต่างกันมากสภาวะอากาศรุนแรง


                            บริเวณความดันอากาศสูง หมายถึง อากาศจมตัวไม่มีเมฆและฝน ท้องฟ้าโปร่งใน

               ภาพถ่ายดาวเทียมจะไม่พบกลุ่มเมฆ  แต่สภาพอากาศอาจจะมีฝนได้เช่นกัน  ขณะที่มีการขยายมา
               พบกันกับความดันอากาศต ่า

                     9.4.2  แนวปะทะโซนร้อนหรือร่องมรสุม  (intertropical  convergence  zone  หรือ  mon

               soon trough)


                            ร่องมรสุมเป็นแนวปะทะของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกับลมมรสุมตะวันตก
               เฉียงใต้  หรือเกิดจากแนวปะทะของลมสินค้าตะวันออกเฉียงเหนือกับลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้

               บริเวณแนวปะทะอากาศนี้  เกิดเป็นการก่อตัวของเมฆจนหนาทึบ  โดยมีฝนตกกระจายทั่วไปตาม
   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267