Page 265 -
P. 265
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 247
สภาพลมฟ้ าอากาศเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอย่างต่อเนื่องโดยไม่มี
พรมแดน แต่แตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศและต าแหน่งบนโลก จึงก าหนดให้มีการ
ตรวจสภาพอากาศในมาตรฐานเดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลสภาพอากาศน ามาใช้ประโยชน์
ข้อมูลตรวจอากาศจึงเป็นรหัสสากล จากผลการตรวจของสถานีที่มีเครื่องมือมาตรฐานเดียวกัน
ทั้งการตรวจสภาพอากาศระดับผิวพื้น การตรวจสภาพอากาศชั้นบน และการตรวจสภาพ
อากาศด้วยเครื่องมือตรวจอากาศระยะไกล เมื่อน าผลการตรวจที่วิเคราะห์ร่วมกันหลายสถานี
ในขนาดระดับโลก ระดับทวีป และระดับภูมิภาค สามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
อากาศ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น เมฆฝนต่างๆ เป็นต้น เมื่อน ามาวิเคราะห์ด้วยความรู้ทาง
อุตุนิยมวิทยาจะสามารถคาดหมายลักษณะอากาศซึ่งจะเกิดประโยชน์ต่อการด าเนินกิจกรรม
ต่างๆ โดยเฉพาะการปฏิบัติการฝนหลวงให้มีประสิทธิภาพสูงได้อย่างดียิ่ง
เอกสารประกอบการเรียบเรียง
กรมอุตุนิยมวิทยา 2552. แผนที่อากาศและพยากรณ์อากาศ ป ี พ.ศ. 2552 โรงพิมพ์กรม
อุตุนิยมวิทยา กรุงเทพฯ
กรมอุตุนิยมวิทยา 2552. เกณฑ์ที่ช้ใในการพยากรณ์อากาศ เอกสารแผ่นพับเพื่อเผยแพร่และ
ประชาสัมพันธ์ กรุงเทพฯ 3 หน้า
Ahren, C.D. 1982. Meteorology Today. West Publishing Company, New York, USA. 513 p.
Lutgens, F.K. and E.J. Tarbuck. 1982. The Atmosphere. Prentice - Hell, Inc, Englewood Cliffs,
New Jersey, USA. 478 p.
Moran, J.M. and M.D.Morgan. 1986. Meteorology. Burgess Publishing, MN, USA. 502 p.
Frederick. F.L. and E.J. Tarbuck. 1982. The Atmosphere an Introduction to Meteorology.
Prentice-Hall, Inc., New Jersey, USA. 478 p.
Middleton. W.E. and A.F. Spihaus. 1953. Meteorological Instruments. University of Toronto
Press, Canada. 256 p.
XU. J.,F. Zongyi and X. Jionping. 1991. Couse of WMO Workshop on Satellite Meteorology.
China Meteorological Press, Beijing, China. 445 p.