Page 259 -
P. 259
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 241
850
km
GOMS (USSR)
(to be launched)
ภาพที่ 9.10 ลักษณะวงโคจรของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งแบ่งเป็นแบบโคจรผ่านหรือใกล้ขั้ว
โลกและแบบเสมือนอยู่กับที่ (วงโคจรค้างฟ้า)
ที่มา : ดัดแปลงจาก Xu et al. (1990)
การใช้ข้อมูลดาวเทียมแบ่งแยกชนิดของเมฆและพิจารณาลักษณะอากาศ
การแบ่งแยกชนิดเมฆใช้ข้อมูลจากดาวเทียมที่มีความยาวช่วงคลื่นในช่วงคลื่นแสง
และช่วงคลื่นอินฟราเรด เพื่อเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างกันของเมฆแต่ละชนิด
ได้แก่ ขนาด รูปร่าง เงา โทนสี และเนื้อภาพ ดังรายละเอียดในตารางที่ 9.11
ตารางที่ 9.11 การแบ่งเมฆชนิดต่างๆ โดยพิจารณาจากลักษณะทางกายภาพจากข้อมูลดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยา
ชนิดของเมฆ ขนาด รูปร่าง เงา โทนสี (ความสว่าง) เนื่อภาพ
visible infrared
เซอร์รัส กว้างและยาวหลาย แผ่นหรือกลุ่มขนาด เป็นเส้นๆ บน เทา-ขาว ขาวหรือเทา เรียบๆ
ร้อยกิโลเมตร ใหญ่ มีทิศทางตาม เมฆที่อยู่ต ่ากว่า ขาว เป็นเส้นๆ
ลมชั้นบน
อัลโตสเตรตัส ติดต่อกันเป็นผืน เส้นใยละเอียดหรือ มีเงาเล็กๆ จน เทา-ขาว เทาอ่อนเรียบ เป็นลายๆ
และอัลโตคิว ระดับทวีป ปุยหรือเป็นพืดต่อ เกิดประลายๆ ถ้าบางสีเทา ละเอียด เพราะเงาจาก
มิวรัส (synoptic) กัน ถ้าหนาสีขาว ยอดที่สูงต่างกัน
แปรตามภูมิประเทศ ไม่มีเงา เรียบละเอียด
สเตรตัสและ แตกต่างกัน มีตั้งแต่ ขาว-เทาอ่อน สีเทาจาง แต่
หมอก ขนาดเล็กจนขนาด เช่น ตามแนวเขา นอกจากบริเวณ ขึ้นกับมุมของ มักแยกไม่ออก
1,000 ตาราง ชายฝั่ง หุบเขา เป็น แนวปะทะ ดวงอาทิตย์ เพราะอุณหภูมิ
กิโลเมตร ต้น อากาศ และความ ใกล้เคียงกับผิว
หนา ดิน
สเตรโตคิว แตกต่างกัน มีตั้งแต่ ก้อนกลมหรือ เงาคล้ายก้อน ขาว เทาอ่อนถึงเทา ไม่เรียบ
มิวรัส ขนาดเล็กจนขนาด สี่เหลี่ยมเล็กๆ ต่อ กรวดหรือผิว ตอนกลาง เข้มเหนือทะเล เนื่องจากมี
กันเป็นผืน ของรวงผึ้ง
1,000 ตาราง เทาตรงขอบ จะดูยากเพราะ ช่องว่างระหว่าง
กิโลเมตร เหนือพื้นดิน อุณหภูมิ ยอกเมฆ
มักเทากว่า ใกล้เคียงกับน ้า
เหนือทะเล ทะเล