Page 152 -
P. 152
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
บทที่ 6
บทที่ 6
กระบวนการควบแน่นและหยาดน ้าฟ้ า
กระบวนการหยาดน ้าฟ้ า
6.1 กระบวนการควบแน่น
6.1 กระบวนการควบแน่น
6.2 กระบวนการเกิดเมฆ
6.2 กระบวนการเกิดเมฆ
6.3 หยาดน ้าฟ้ า
6.3 หยาดน ้าฟ้ า
6.4 การวัดและการวิเคราะห์ปริมาณน ้าฝน
6.4 การวัดและการวิเคราะห์ปริมาณน ้าฝน
สาระส าคัญของกระบวนการควบแน่นและหยาดน ้าฟ้ า กล่าวถึง การลดอุณหภูมิ
ของอากาศจนถึงระดับที่ไอน ้าในอากาศอิ่มตัวแล้วเกิดการควบแน่น การรวมกัน
ของหยดน ้าขนาดเล็กเป็ นหยดน ้าขนาดใหญ่จนเป็ นเมฆชนิดต่างๆ หยาดน ้าฟ้ า
การวัดและการวิเคราะห์ปริมาณฝน
6.1 กระบวนการควบแน่น
6.1.1 กระบวนการอิ่มตัวด้วยไอน ้า
เมฆ คือ กลุ่มของน ้าที่แขวนลอยอยู่ในอากาศในรูปของหยดน ้า (water droplets)
และผลึกน ้าแข็ง (ice crystals) ซึ่งในสภาพอากาศปกติสามารถมองเห็นเมฆได้ด้วยตาเปล่า เมฆ
เกิดขึ้นในสภาวะอากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่า 100 เปอร์เซ็นต์ โดยกระบวนการควบแน่นและ
กระบวนการเกิดเมฆ กล่าวคือ เมื่ออากาศมีอุณหภูมิลดลง ระดับความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศจะ
เพิ่มขึ้น ถ้าอุณหภูมิของอากาศลดลงจนถึงอุณหภูมิจุดน ้าค้าง อากาศจะอยู่ในสภาพอิ่มตัวด้วยไอ
น ้า มีความชื้นสัมพัทธ์ 100 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า การลดอุณหภูมิของกลุ่มอากาศเกิดจากสาเหตุ
3 ประการ คือ 1) การสูญเสียความร้อนโดยการแผ่กระจายพลังงานของกลุ่มอากาศ 2) การลอยขึ้น
ของอากาศเนื่องจากพื้นดินถ่ายโอนความร้อนให้อากาศใกล้ผิวดินจนอุณหภูมิสูงขึ้นและลอยขึ้น
อย่างอิสระ (free convection) หรือลอยขึ้นโดยแรงบังคับจากภายนอก (forced convection) เช่น