Page 120 -
P. 120
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
102 กระบวนการคายระเหยน ้า
หัวใจส าคัญของการระเหยน ้าและการคายน ้า 3 ประการ คือ ต้องมีพลังงานเพื่อใช้ใน
การระเหยน ้า ต้องมีความแตกต่างกันของไอน ้าบริเวณผิวระเหยและระดับที่สูงกว่า และต้องมี
น ้าให้ระเหยไม่ว่าจะเป็นในแหล่งน ้าหรือในดินก็ตาม จากหลักการทั้งสามประการน าไปสู่การ
คาดคะเนการระเหยน ้าจากกลไกธรรมชาติ โดยหลักการทรงมวล หลักการทรงพลังงานและ
หลักการทรงโมเมนตัม กลไกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการระเหยน ้าและการคายระเหยน ้าไม่
สามารถหลีกเลี่ยงหลักการใช้พลังงานเพื่อการระเหยน ้า หลักการด้านอากาศพลศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องกับเกรเดียนท์ของความดันไอน ้าบริเวณผิวระเหยน ้าและเหนือผิวน ้า และหลักการ
ส าคัญที่สุดคือ ถ้าไม่มีน ้าให้ระเหย การระเหยน ้าและการคายน ้าย่อมไม่สามารถเกิดขึ้น
เอกสารประกอบการเรียบเรียง
Hannu, K., P. Kroger, H. Oja, M. Poutanen and K.J. Donner. 1996. Fundamental Astronomy.
rd
3 ed. Spriner-Verlag Berlin Heidelberg, New York. 521 p.
Lee, R. 1978. Forest Microclimatology. Columbia University Press. New York.
Linsley, R.K. Jr, M.A. Kohler and J.L.H. Paulhus. 1958. Hydrology for Engineers.
Mc Graw-Hill Book Company.
Linsley, R.K. Jr, and J.B. Franzini. 1964. Water-Resources Engineering. Mc Graw-Hill Book
Company.