Page 87 -
P. 87
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
78
(ก) (ข) (ค)
รูปที่ 3.4 (ก) ภาพถายตามนุษย (ข) ฮีสโตแกรม (ค) ผลการตัดแบงที่คาขีดแบง 80
>> im = imread(‘d:\myImages\iris1.tif’); %อานภาพตามนุษย
>>figure, imhist(im), axis tight %พลอตฮีสโตแกรม
>> result = im<80; %ตัดแบงภาพที่คาขีดแบง 80
>> figure, imshow(result) %แสดงผลการตัดแบง
3.2 การแปลงระดับเทา (Grey Scale Transformation)
จะเห็นไดวาลักษณะการกระจายตัวของความสวางของภาพหรือฮีสโตแกรมจะมีผล
ตอลักษณะและความคมชัดของภาพโดยตรง เทคนิคหลักที่ใชในการปรับปรุงการ
มองเห็นของภาพ คือการทํา gray scale transformation เทคนิคนี้ปรับเปลี่ยนคาความ
สวางหรือความเขมแสงของภาพผานขบวนการทางคณิตศาสตรที่เรียกวา การทํา
ทรานสฟอรม (transformation) การทําทรานสฟอรมจะแปลงคาความสวางของภาพ
อินพุต สมมติใหแทนดวยตัวแปร u ใหเปนคาความสวางคาใหม คือ คา g(u) ดวย
ฟงกชันการแปลง (transfer function) ที่กําหนดขึ้น สมการที่ใชในการทําทรานส
ฟอรมเขียนไดดังนี้
g(u) = T(u)
ฟงกชันการแปลง T(.) ที่ใชมีหลากหลายรูปแบบ ทุกรูปแบบที่เลือกใชงานมี
วัตถุประสงคหลักในการปรับฮีสโตแกรมของภาพเอาทพุต ใหมีลักษณะใกลเคียง
กับฮีสโตแกรมที่ตองการ เชน ฟงกชันการแปลงในรูปที่ 3.5(ก) ทําหนาที่ในการ
ยกระดับพิกเซลที่มีคาความสวางในชวง [a,b] ใหมีคาคงที่ และคงคาความสวางของ