Page 86 -
P. 86

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                        77

                                       •  ความกวางของการกระจายตัว (spread)  คานี้จะสัมพันธกับคาความคมชัด

                                          หรือคาความเปรียบตาง (contrast)  ของภาพ  ภาพที่มีความเปรียบตางต่ํา

                                          ขอมูลจะกระจุกตัวทําใหกราฟมีความกวางของการกระจายตัวแคบ  ดังแสดง
                                          ในรูปที่ 3.3(ค)  สวนภาพที่มีความเปรียบตางสูง  ความกวางของการกระจาย

                                          ตัวจะกวาง ดังแสดงในรูปที่ 3.3(ง)

                                       •  จํานวนยอดของขอมูล ฮีสโตแกรมของภาพในรูปที่ 3.3 เปนฮีสโตแกรมที่มี

                                          หลายยอด  (multi-modal histogram) ในขณะที่ฮีสโตแกรมของภาพมานตา
                                          แสดงในรูปที่ 3.4 มีสองยอด (bi-modal histogram) หลัก นั้นแสดงวาพิกเซล

                                          มีการกระจุกตัวแบงออกเปนสองกลุมใหญ


                                   ขอมูลตาง ๆ ที่วิเคราะหไดจากกราฟฮีสโตแกรมมักนิยมนําไปประยุกตใชในการปรับ

                                   ปรุงคุณภาพภาพ เชน ปรับความคมชัดและการสองสวางของภาพ เปนตน นอกจาก

                                   นั้นยังนิยมใชเปนขอมูลสําหรับวิเคราะหการตัดแบงสวนของพื้นที่ที่เราสนใจภาย ใน

                                   ภาพ (image segmentation) เชน เมื่อวิเคราะหฮีสโตแกรมของรูปภาพถายตามนุษยรูป
                                   ที่ 3.4(ก) จะเห็นวาฮีสโตแกรมแบงเปนสองยอดใหญ ๆ ยอดแรกมีจุดศูนยกลางอยูที่

                                   ความเขมแสงยานต่ําคือประมาณ 55 ขอมูลในกลุมนี้ครอบคลุมพิกเซลที่มีคาความ

                                   เขมแสงต่ํา ไดแก พิกเซลของรูมานตา ขนตา ขนคิ้ว เปนตน การแยกสวนรูมานตา
                                   (pupil segmentation) จึงสามารถทําไดโดยการตัดแบง (thresholding) ซึ่งทําโดย

                                   กําหนดคาขีดแบง (threshold value) จากนั้นทําการแบงกลุมโดยกําหนดใหพิกเซลที่มี

                                   คาความสวางมากกวาหรือเทากับคาขีดแบงอยูกลุมหนึ่ง พิกเซลอื่น ๆ ที่มีคาความ
                                   สวางนอยกวาคาขีดแบงจะถูกกําหนดใหอยูอีกกลุมหนึ่ง รูปที่ 3.4(ค)  แสดงผลลัพธที่

                                   ไดจากการตัดแบงภาพมานตา โดยเลือกใหคาขีดแบงมีคาเทากับ 80 คานี้เปนคาความ

                                   เขมแสงต่ําสุดระหวางยอดของฮีสโตแกรมทั้งสองยอด ผลการตัดแบงไดสวนของรู
                                   มานรวมทั้งสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ดังแสดงในภาพ


                                   คําสั่ง MATLAB  ที่ใชในการสรางภาพฮีสโตแกรมคือคําสั่ง imhist(.)   ซึ่งบอยครั้ง

                                   กราฟที่ไดจะสูงจนลนขอบภาพ เราตองใชคําสั่ง axis tight ตามหลัง เพื่อทําการปรับ
                                   ใหกราฟแสดงคาไดอยางถูกตอง คําสั่งดานลางเปนคําสั่งสรางรูป 3.4(ข) และ 3.4(ค)
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91