Page 83 -
P. 83

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 74

                          เนื้อหาในบทนี้เริ่มตนดวยการกลาวถึงฮีสโตแกรมของภาพกอน  ทั้งนี้เนื่องจากฮีสโต

                          แกรมเปนคุณสมบัติประจําภาพที่ใชในการวิเคราะหลักษณะและความคมชัดของภาพ
                          จากนั้นจึงอธิบายกระบวนการปรับคาความสวางของภาพแบบจุดพิกเซลตอไป




                    3.1      ฮีสโตแกรม (Histogram)


                          ฮีสโตแกรมเปนคุณสมบัติทางสถิติของภาพที่แสดงถึงการกระจายตัวของคาความเขม

                          แสงหรือคาความสวางของจุดพิกเซลภายในภาพ โดยแกนนอนของกราฟฮีสโตแกรม

                          จะแสดงถึงคาความสวางของพิกเซล  คานี้เริ่มตนตั้งแต 0  ถึง 255  สวนแกนตั้งของ
                          กราฟแสดงจํานวนจุดพิกเซลทั้งหมดภายในภาพที่มีคาความสวางเทากับคาที่กําหนด

                          ถาสมมติใหภาพมีขนาด 3×3 และมีคาความเขมแสงอยูระหวาง 0-5  โดยแตละพิกเซล

                          มีคาความเขมแสงดังแสดงในรูปที่ 3.1(ก)


                                                      ชวงคา  จํานวนพิกเซล         จํานวนพิกเซล



                             1 2 3                     0-1          5
                             1 5 0                     2-3          1

                             2 6 6                     4-5          3

                                                                                    ความเขมแสง
                                         (ก)                                                (ข)                                       (ค)

                                 รูปที่ 3.1 (ก) ภาพตนฉบับ (ข) ตารางฮีสโตแกรม (ค) กราฟฮีสโตแกรม


                          การสรางกราฟฮีสโตแกรม  เริ่มจากการหาคาพิสัยของขอมูล  ซึ่งเทากับคาความเขม

                          แสงสูงสุดลบดวยคาความเขมแสงต่ําสุดของภาพ  จากภาพตัวอยางคาพิสัยที่ไดมีคา
                          เทากับ 5 จากนั้นจึงกําหนดจํานวนชวง (bin) ของขอมูล เชน กําหนดใหจํานวนชวงมี

                          คาเทากับ 3  คาทั้งสองที่หาไดใชเปนตัวกําหนดคาความกวางหรือขอบเขตของชวง

                          ขอมูล ซึ่งมีคาเทากับ คาพิสัยหารดวยจํานวนชวง ในกรณีที่หารไมลงตัวใหทําการปด

                          เศษลง  จากตัวอยางที่ใหจะไดคาความกวางของชวงขอมูลเทากับ 2 ทําใหไดขอบเขต
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88