Page 84 -
P. 84

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                        75

                                   คาความเขมแสงของแตละชวงเปน 0-1, 2-3 และ 4-5 จากนั้นใหนับจํานวนจุดพิกเซล

                                   ที่มีคาความเขมแสงตามชวงขอมูลที่กําหนด แลวเก็บไวในตารางแสดงการกระจายตัว
                                   ของความเขมแสงในรูปที่ 3.1(ข)  เมื่อนําคาที่นับไดในตารางมาพลอตกราฟจะได

                                   กราฟฮีสโตแกรมดังแสดงในรูปที่ 3.1(ค)


                                   กราฟฮีสโตแกรมเปนเครื่องมือพื้นฐานที่สําคัญสําหรับใชในการวิเคราะหภาพ  กราฟ

                                   การกระจายตัวคาความเขมแสงของภาพสามารถนําไปใชวิเคราะหจากคาหลัก ๆ ดังนี้

                                       •  จุดศูนยกลางของขอมูล (center)  เพื่อวิเคราะหหาศูนยรวมของขอมูล  รูปที่
                                          3.2(ก)     แสดงลักษณะการกระจายตัวของขอมูลแบบปกติ        (normal

                                          distribution) คือ ขอมูลมีการกระจายตัวคลายรูประฆังคว่ํา มีการกระจายตัว

                                          รอบ  ๆ  จุดศูนยกลางของขอมูลเทา  ๆ  กัน  การกระจายตัวแบบนี้จะเปน
                                          รูปแบบการกระจายตัวที่พบเห็นบอย







                                    รูปที่ 3.2 (ก) การกระจายตัวแบบปกติ (normal distribution) (ข) การกระจายตัวแบบ

                                   เบี่ยงเบนซาย (right-skewed distribution) (ค) การกระจายตัวแบบเบี่ยงเบนขวา (left-
                                                              skewed distribution)


                                       •  ความเอนหรือความเบี่ยงเบนของขอมูล (skewness) ภาพที่มีลักษณะมืด หรือ

                                          ที่เรียกวา low key image  กราฟฮีสโตแกรมของภาพจะมีลักษณะเบไป

                                          ทางดานซายมือของกราฟดังแสดงในรูป 3.2(ข)  ทั้งนี้เนื่องจากพิกเซลสวน

                                          ใหญภายในภาพมีคาความสวางต่ํา   ในทางตรงขามภาพที่สวาง  หรือ high
                                          key image  กราฟฮีสโตแกรมของภาพจะเบไปดานขวามือของกราฟตาม

                                          ตัวอยางกราฟในรูปที่ 3.2(ค)  รูปที่ 3.3(ก)  และรูปที่ 3.3(ข)  แสดงตัวอยาง

                                          ภาพถายธรรมชาติจริง    ที่มีลักษณะมืดและสวางพรอมทั้งฮีสโตแกรมของ
                                          ภาพ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89