Page 29 -
P. 29

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 20

                              1.  การตรวจจับภาพ (Image Acquisition)  เปนขั้นตอนในการตรวจจับภาพ

                                  อินพุต เชน การติดตั้งกลองดิจิทัลเพื่อถายภาพซองจดหมายหรือติดตั้งระบบ
                                  แสกนซองจดหมายเพื่อคนหาและอานรหัสไปรษณียบนซองจดหมายอยาง

                                  อัตโนมัติ เปนตน

                              2.  การประมวลผลภาพเบื้องตน (Preprocessing)  เปนขั้นตอนยอย  ๆ  กอน

                                  ขั้นตอนการประมวลผลภาพหลัก  โดยทั่วไปขั้นตอนนี้มีวัตถุประสงคในการ
                                  ปรับเปลี่ยนภาพใหคุณสมบัติเหมาะสมตอการประมวลผลภาพในขั้นตอน

                                  ถัด ๆ ไป เชน ทําการลดสัญญาณรบกวนเพื่อปรับปรุงภาพอินพุตที่ตรวจจับ

                                  ได  หรือ  ขั้นตอนเบื้องตนที่ใชในการกําหนดพื้นที่ที่มีความเปนไปไดสูงวา

                                  เปนพื้นที่ที่นาจะมีรหัสไปรษณียปรากฎอยู เปนตน
                              3.  การตัดแบงภาพ (Segmentation)  เปนขั้นตอนสําหรับกําหนดตําแหนง

                                  และพิกเซชของวัตถุที่เราสนใจ  ในตัวอยางที่อางนั้น  คือการตัดแบงพื้นที่ใน

                                  สวนที่มีรหัสไปรษณียบรรจุอยูออกจากองคประกอบอื่น ๆ ภายในภาพ
                              4.  การกําหนดคําอธิบายหรือตัวแทน (Representations and Descriptions)

                                  ขั้นตอนนี้ทําหลังการที่เราสามารถตัดแบงวัตถุที่เราสนใจออกจากพื้นหลัง

                                  ของภาพไดแลว  โดยเปนขั้นตอนที่ทําการดึงคุณสมบัติเฉพาะของวัตถุที่เรา
                                  สนใจออกมา     พรอมทั้งหาคําอธิบายคุณสมบัติดังกลาวที่เหมาะสมตอการ

                                  นําไปประมวลผล      โดยคุณสมบัติที่ดึงออกมานั้นตองเปนลักษณะเฉพาะ

                                  สามารถใชแยกวัตถุที่เราสนใจออกจากองคประกอบอื่น  ๆ  ภายในภาพได
                                  เชน  ใชจํานวนหลุมและมุมที่เปนลักษณะเฉพาะของแตละตัวอักษรมาเปน

                                  คําอธิบายตัวอักษรแตละตัว  หรืออาจใชแกนของตัวเลขอธิบายเลขแตละตัว

                                  และทําการแทนแกนเลขแตละตัวดวยคามุม (slope)  ของเสนสัมผัสแตละจุด

                                  ในการรูจําเลขรหัสไปรษณียในขั้นตอนถัดไปได เปนตน
                              5.  การตีความและการรูจํา (Recognition and Interpretation)  เปนขั้นตอนที่จะ

                                  กําหนดหรือระบุ (label) วัตถุที่เราสนใจโดยอาศัยคําอธิบายหรือตัวแทนของ

                                  วัตถุที่หาไดจากขั้นตอน 4  เชน ระบุตัวเลขและตัวอักษรของรหัสไปรษณียที่
                                  ไดตัดแบงไวแลววาเปนตัวเลขหรือตัวอักษรอะไร เปนตน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34