Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 18

                              2.  การรับรูคาความเขมแสงของตามนุษยไมตอเนื่อง  ตามนุษยไมสามารถรับรู

                                  ความเขมแสงไดอยางตอเนื่อง   แตจะมีระดับการรับรูเปนชวงและจะเห็น
                                  ความเขมแสงเปนแถบ ๆ ดังแสดงในภาพที่ 1.18

















                                       รูปที่ 1.18 การรับรูคาความเขมแสงของมนุษยจะไมตอเนื่อง


                              3.  การมองเห็นของมนุษยไมสม่ําเสมอแนนอน  มีการแกวงอยูบริเวณรอบ  ๆ

                                  โดยเฉพาะสวนที่เปนขอบภายในภาพ  เชน  ในกรณีที่มีกอนวัตถุสีเทาออน

                                  วางอยูบนพื้นหลังสีดํา  เมื่อเรากวาดตาจากพื้นหลังที่มีสีดําผานบริเวณขอบ
                                  ของวัตถุเราจะเห็นบริเวณใกล  ๆ  ขอบของวัตถุมีสีเทาไลจากสีเทาออนไปสี

                                  เทาเขม  โดยจะเขมขึ้นเมื่อเรากวาดตาตอไปภายในกอนวัตถุ  ในทํานอง

                                  กลับกัน  ถาเรากวาดตาจากภายในกอนวัตถุผานบริเวณรอยตอระหวางกอน
                                  วัตถุสีดํากับพื้นหลังสีเทาออน  เราจะมองเห็นสีดําบริเวณขอบเขมกวาสีดํา

                                  บริเวณอื่นๆของพื้นหลัง



                    1.6     ขบวนการการประมวลผลภาพดิจิทัล (Aspects of Images Processing)



                          เราสามารถแบงขบวนการการประมวลผลภาพดิจิทัลตามวัตถุประสงคหลักในการ
                          ประมวลผลภาพ ออกไดเปนกลุมยอย 3 กลุม ดังนี้

                              1.  การปรับปรุงคุณภาพภาพ (Image Enhancement)  เปนขั้นตอนที่มีเปาหมาย

                                  ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภาพใหมีความเหมาะสมตอการประมวลผล
                                  ภาพ หรือการมองเห็น ตัวอยางเชน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32