Page 224 -
P. 224
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
215
การฟนฟูภาพโดยใชตัวกรองแบบปรับตัวชนิด LMS ขนาด 3×3 ตามคําสั่ง
MATLAB ดานลาง รูปที่ 7.5(ค) แสดงภาพที่ไดจากการฟนฟูโดยใชตัวกรองแบบ
ปรับตัวชนิด LMS ขนาด 7×7 ซึ่งจะเห็นไดวาภาพที่ไดจะเบลอมากขึ้นเมื่อขนาดของ
ตัวกรองใหญขึ้น รูปที่ 7.5(ง) แสดงภาพที่ไดจากการฟนฟูภาพโดยใชตัวกรองเฉลี่ย
(average filter) ขนาด 3×3 เมื่อเปรียบเทียบกับภาพที่ 7.5(ข) จะเห็นไดอยางชัดเจนวา
ตัวกรองแบบปรับตัวจะคงความคมชัดบริเวณขอบภาพไดดีกวาตัวกรองคาเฉลี่ยมาก
>> f = imread('lotus.jpg'); % อานภาพอินพุต
>> f = f(:,:,1); % พิจารณาเฉพาะภาพเพลนสีแดง
>> varN = 0.5;
% เพิ่มสัญญาณรบกวนเกาสเซีย ที่มีคาmean =จ คา var = 0.varN
>> g =imnoise(f, 'gaussian',0,var_noise); >> imshow(g);
>> g = double(g);
>> m = 3; n = 3; %ขนาดของหนากากที่ใช
>> mean = imfilter(g, ones(m,n), 'circular')/(m*n); %คํานวณคา local mean
>> fun = @(x) std2(x)^2; %กําหนดฟงกชันคํานวณคาความแปรปรวน
>> var = nlfilter(g, [m,n],fun); %คํานวณคา local variance
% ฟนฟูภาพ คําสั่ง eps จะใหคาเล็กๆอออกเพิ่มเขามาเพื่อหลีกเลี่ยงกรณีหารดวยศูนย
>> f_hat = g -((varN./(var+eps)).*[g-mean]);
>> figure,colormap(gray), imshow(uint8(f_hat));
7.4 การฟนฟูภาพเสื่อมจากสัญญาณรบกวนแบบคาบในโดเมนความถี่
(Periodic Noise Removal by Frequency Domain Filtering)
เนื่องจากสัญญาณรบกวนแบบคาบที่กลาวรายละเอียดไวในบทที่ 7.2 มีคุณสมบัติที่
เฉพาะในโดเมนความถี่ คือสัญญาณรบกวนแบบคาบจะปรากฎเปนกลุมจุดภาพใน
โดเมนความถี่เปนกลุมจุดที่มีขนาดของสัญญาณสูง ดังแสดงตัวอยางในภาพที่ 7.2