Page 219 -
P. 219

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 210

                          pepper',0.1);  ผลลัพธที่ไดจากการฟนฟูภาพเสื่อมดัวยตัวกรองมัธยฐานขนาด 3×3

                          แสดงในรูปที่ 7.4(ข)   ซึ่งจะเห็นวาภาพผลลัพธที่ไดมีสัญญาณรบกวนหลงเหลืออยู
                          นอยมาก  จุดพิกเซลที่เปนสัญญาณรบกวนที่กระจายอยูทั่วทั้งภาพ  ไมวาจะเปน

                          สัญญาณรบกวนแบบเกลือหรือพริกไทยไดถูกแทนที่ดวยคามัธยฐานที่หาไดในแตละ

                          ครั้ง ภาพฟนฟูที่ไดจึงมีคุณภาพใกลเคียงกับภาพตนฉบับมาก คําสั่ง MATLAB ที่ใช

                          สําหรับการกรองแบบมัธยฐานคือคําสั่ง  meddilt2(I, [m,n])  คําสั่งนี้จะกรองภาพ  I
                          ดวยตัวกรองมัธยฐานขนาด m×n คําสั่ง MATLAB ดานลางเปนคําสั่งที่ใชในการสราง

                          และฟนฟูภาพเสื่อมแบบ salt & pepper ที่แสดงในรูปที่ 7.4


                              >> f = imread('100_4198.jpg');     % อานภาพอินพุต

                              >> f = rgb2gray(f);               % ปรับเปนภาพเทา
                             %  เพิ่มสัญญาณรบกวนแบบ salt & pepper

                             % โดยกําหนดใหสัญญาณรบกวนมีความหนาแนนเปน     0.1

                              >> im_noisy=imnoise(f, 'salt & pepper',0.1);

                              >> fg = medfilt2(im_noisy);  %ฟนฟูภาพดวยการกรองมัธยฐาน
                              >>  imshow(im_noisy), imshow(fg);  %แสดงภาพผลลัพธที่ได



                               23 88  92

                               74 162  209         22 23 55  74  88 92  128  162 209

                              128 55  22


                                    (ก)                                                           (ข)


                                      รูปที่ 7.3 หลักการทํางานของตัวกรองมัธยฐานขนาด 3×3
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224