Page 218 -
P. 218

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       209

                                   ภาพทําไดดวยการกรองภาพดวยตัวกรองที่เหมาะสม    รายละเอียดตัวกรองตางๆที่

                                   นิยมใชเปนดังตอไปนี้



                                     7.3.1 ตัวกรองมัธยฐาน (Median Filter)



                                   ตัวกรองมัธยฐานเปนตัวกรองที่ทําการเรียงคาความสวางของจุดพิกเซลภายใต

                                   หนากากตัวกรอง  แลวแทนที่คาความเขมแสงของจุดพิกเซลใตจุดศูนยกลางหนากาก
                                   ตัวกรองดวยคามัธยฐานของคาความเขมแสงที่ไดเรียงไว  รูปที่ 7.3  แสดงหลักการ

                                   ทํางานของตัวกรองมัธยฐานขนาด 3×3  ถาสมมติใหคาความเขมแสงของจุดพิกเซล

                                   ภายใตหนากากตัวกรองขนาด 3×3  มีคาดังแสดงในรูปที่ 7.3(ก)  หลังจากการเรียง
                                   ขอมูลจากนอยไปมาก  จะไดคาตามที่แสดงไวในรูปที่ 7.3(ข)  คามัธยฐานของขอมูล

                                   ชุดใดๆ  คือ  คาที่อยูตําแหนงตรงกลางของชุดขอมูลที่ไดผานการเรียงขอมูลแลว  ใน

                                   ตัวอยางนี้ คือ ขอมูลที่อยูในตําแหนงที่ 5 ซึ่งมีคาเทากับ 88 หลังการกรองจุดพิกเซลที่
                                   เราสนใจจะถูกแทนที่คาดวยคา 88 เปนตน



                                   จากหลักการดังกลาวจะเห็นไดวาตัวกรองมัธยฐานเปนตัวกรองที่เหมาะตอการนําไป

                                   ใชฟนฟูภาพที่มีสัญญาณรบกวนแบบกระจายตัว  ไมจับตัวกันเปนกลุมกอน  และมีคา
                                   ความเขมแสงที่แตกตางจากคาความเขมแสงของภาพอยูมาก   แตเปนตัวกรองที่ไม

                                   เหมาะตอการลดทอนสัญญาณรบกวนในบริเวณที่มีจํานวนสัญญาณรบกวนมากกวา

                                   จํานวนสัญญาณจุดภาพ  ตัวกรองมัธยฐานจึงเหมาะตอการลดทอนหรือจํากัดสัญญาณ

                                   รบกวนแบบ salt & pepper  เปนอยางยิ่ง  เนื่องจากสัญญาณรบกวนแบบ salt  จะมี
                                   ลักษณะปนจุดสีขาวคลายเกลือ  คือมีคาความสวางสูง  สวนสัญญาณรบกวนแบบ

                                   pepper จะมีคาความสวางต่ํา จึงปรากฎเปนจุดสีดําคลายพริกไทยกระจายตัวอยูทั่วไป

                                   ภายในภาพ รูปที่ 7.4(ก)  แสดงตัวอยางภาพเสื่อมที่เกิดจากสัญญาณรบกวนแบบ salt
                                   & pepper ที่มีคาความหนาแนนในการกระจายตัวของสัญญาณรบกวนเปน 0.1 นั้นคือ

                                   มีจํานวนสัญญาณรบกวนโดยประมาณเทากับ 0.1×จํานวนจุดพิกเซลทั้งหมดภายใน

                                   ภาพ  คําสั่ง MATLAB ที่ใชการสรางภาพเสื่อมดังกลาวคือคําสั่ง imnoise(f, 'salt &
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223