Page 216 -
P. 216
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
207
%ปรับใหสัญญาณที่สรางเปน column vector เพื่อใหสามารถใชงานกับ
% คําสั่ง ksdensity ซึ่งเปนคําสั่งหาฟงกชันการกระจายตัวของขอมูล
>> X = reshape(noise,size,1);
%คํานวณความหนาแนนหรือการกระจายตัวของสัญญาณที่สรางขึ้น
>> [f,xi]= ksdensity(X);
>> plot(xi,f) %พลอตกราฟฟงกชันความหนาแนน
คําสั่ง [f, xi] = ksdensity(X) เปนคําสั่งสําหรับคํานวณความหนาแนนหรือการกระจาย
ตัวของขอมูลที่เก็บไวในเว็คเตอร X โดยขอมูลจะถูกแบงออกเปน 100 ชวงขอมูล
คาที่แบงจะถูกเก็บไวในเว็คเตอร xi สวนเว็คเตอร f จะเก็บคาความหนาแนนของ
ขอมูลแตละชวงที่คํานวณได
นอกจากนี้เรายังสามารถพล็อตกราฟคาความหนาแนนของสัญญาณรบกวนที่สราง
ขี้นไดดวยคําสั่ง hist(X, bins) ซึ่งเปนคําสั่งหาและพล็อตคาฮีสโตแกรมของขอมูล X
ที่กําหนด โดยจะแบงชวงชอมูลเปนชวงๆใหมีจํานวนชวงขอมูลเทากับคา bins ที่
กําหนดไว คําสั่งดานลางเปนตัวอยางคําสั่งสําหรับพล็อตฮีสโตแกรมของสัญญาณ
รบกวนที่สรางขึ้นดวยฟงกชัน noiseGen(.) โดยกําหนดใหคา bins มีคาเทากับ 30
กราฟที่ไดจากคําสั่ง hist(.) จะมีลักษณะไมราบเรียบสวยงามเทากับการใชคําสั่ง
ksdensity(.) คูกับคําสั่ง plot(.) ตามตัวอยางโคตดานบน
>> hist (noise, 30); %ฟงกชันพลอตฮีสโตแกรม โดยกําหนดให bin = 30
7.2.2 การประมาณคาพารามิเตอรของสัญญาณรบกวนภายในภาพ
เมื่อพิจารณาแบบจําลองสัญญาณรบกวนที่ไดแสดงไวในตารางที่ 7.1 จะเห็นไดวา
สัญญาณรบกวนสวนใหญสามารถประมาณแบบจําลองของสัญญาณไดเมื่อทราบ
คาพารามิเตอร a และ b ซึ่งคาพารามิเตอรทั้งสองมักมีความสัมพันธกับคาเฉลี่ยและ
คาเบี่ยงเบนมาตราฐานของสัญญาณรบกวนนั้นๆ ทําใหการประมาณฟงกชันการ