Page 130 -
P. 130

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี























                                                     Foamed Concrete


              วิธีการพิจารณาเลือกใช้ “ฉนวนป้องกันความร้อน”  หรือฉนวนกันความร้อนเพื่อแก้ไขหลังคาร้อนหรือแก้ไข
              อาคารร้อน


                    ฉนวนป้องกันความร้อนที่ดีและมีประสิทธิภาพต้องมีคุณสมบัติในการต้านทานความร้อน (Resistivity, R) ค่า

              ต้านทานความร้อนมาก (R-Value) กันความร้อนได้มาก


                    ค่าต้านทานความร้อนจะมีส่วนสัมพันธ์กับค่าการนําความร้อนแบบเป็นส่วนกลับกัน คือค่า K
              (Conductivity)  การนําความร้อนที่ต่ํา สื่อการนําความร้อนที่น้อย


                    การส่งผ่านความร้อนที่ช้า (U-Value, ความร้อนที่ส่งผ่านวัสดุที่ช้า) แต่อย่างไรก็ตามการเลือกใช้ฉนวนที่ดีควร
              เลือกใช้ให้ถูกกับงานหรือให้ถูกต้องตรงกับวัตถุประสงค์ความต้องการของการใช้งานด้วยประโยชน์ที่ได้รับจากการ

              ติดตั้งฉนวนกันร้อนหรือฉนวนป้องกันร้อน


               1.   ป้องกันความร้อน-ความเย็น ลดความร้อนภายในอาคารได้อย่างมาก
               2.   ป้องกันการรั่วซึม (Water Leaking)
               3.   ลดเสียงดังกั้นเสียง (Noise Inhibiting)
               4.   ทนกรด ทนด่าง (Acid & Base Resistant)

               5.   ทนไฟและไม่ลามไฟ (Fire Retardant)
               6.   ไม่มีสารพิษเจือปน (Non Toxic/Irritant)
               7.   ป้องกันแมลง มด หนู เข้ามาอยู่อาศัย
               8.   น้ําหนักเบา และแข็งแรง (Light Weight & Strength)

               9.    ควบคุมการกลั่นตัวเป็นหยดน้ํา (Condensation Control)
               10.  ติดตั้งง่าย (Easy to Install)
               11.  ไม่มีการยุบตัว (Does Not Pack Down)
               12.  รูปทรงในเชิงสถาปัตยกรรม (Architectural Shapes)

               13.  ประหยัดพลังงาน (Energy Saver) หรือช่วยลดค่ากระแสไฟฟ้าในแต่ละเดือนได้อย่างมากนั่นเอง


              นี่คือประโยชน์หลักๆ ที่ได้รับจากการพ่นฉนวนกันร้อน








                                                           127
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135