Page 57 -
P. 57
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right
45
(1) ทึบแสงทําใหไมสามารถมองเห็นผลิตภัณฑขางใน แมวาคุณสมบัตินี้อาจเปนประโยชนกับ
สินคาประเภทอื่น
(2) ใชกับไมโครเวฟไมได ทําใหไมเหมาะกับการใชบรรจุผลิตภัณฑอาหาร
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
ภาพที่ 2-8 แผนภูมิการอาบไอโลหะดวยวิธีสปตเตอร
ที่มา: ดัดแปลงจาก http://clearmetalsinc.com/technology/
การอาบไอซิลิกาออกไซดสามารถทําไดหลายวิธีและนิยมใชวิธีสปตเตอรมากกวา ใชกับฟลม OPP
และ OPET เรียกฟลมนี้วาฟลมเคลือบแกว หรือ Silica coated film ความหนาของซิลิกาออกไซด
copy right copy right copy right copy right
800-1,500 อังสตรอม มีลักษณะโปรงแสงทําใหใชกับไมโครเวฟได อีกทั้งมีสมบัติปองกันการซึมผาน
ของกาซและทนทานความรอนไดดีมาก แตฟลมแข็งกระดางกวาฟลมอาบไออะลูมิเนียมมาก และ
เมื่อเก็บไวนานสีจะเปลี่ยนเปนสีชาออนๆ
อนึ่ง ฟลมอาบไอโลหะที่ใสอีกชนิด คือ ฟลมอาบไออะลูมิเนียมออกไซด ซึ่งสามารถใชกับไมโครเวฟ
ไดเชนกัน แตการอาบไอนิยมใชวิธีระเหยภายใตสุญญากาศ โดยใชลําอิเล็กตรอนเปนแหลงพลังงาน
ทําใหโลหะระเหยเปนไอ
6.2 การอาบไอโลหะดวยวิธีทางเคมี (Chemical vapor deposition)
หลักการของการอาบไอโลหะดวยวิธีทางเคมีคลายวิธีสปตเตอร แตกาซพลาสมาจะทําปฏิกิริยากับ
อะตอมโลหะที่หลุดออกมาในสภาพกาซดวยและไดเปนสารประกอบใหมกอนจะไปเกาะบนผิววัสดุ
จึงเรียกวิธีนี้วา Plasma enhanced chemical vapor deposition เชน กาซพลาสมาไนโตรเจน เมื่อ
ชนกระแทกแทงไทเทเนียมจนหลุดออกมาในสภาพกาซแลว พลาสมาไนโตรเจนจะทําปฏิกิริยากับ
copy right copy right copy right copy right