Page 54 -
P. 54
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right
42
ไอสารอื่นๆ มีนอยกวาการใชความรอน ระบบการทํางานของเครื่องจักร ดังแสดงในภาพที่ 2-7 จะ
คลายกับภาพที่ 2-6 เพียงแตเปลี่ยนแหลงใหพลังงาน
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
ภาพที่ 2-7 แผนภูมิการอาบไออะลูมิเนียมภายใตสุญญากาศ โดยใชลําอิเล็กตรอนเปนแหลงพลังงาน
ที่มา: ดัดแปลงจาก http://www.sigmalabs.com/energy-storage/
ปจจัยที่มีผลตอการอาบไออะลูมิเนียม
ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพการอาบไออะลูมิเนียมพิจารณาจากการยึดติดของอะลูมิเนียม มีดังนี้
copy right copy right copy right copy right
(1) สภาพมีขั้วของวัสดุ วัสดุที่มีขั้วจะมีพลังงานที่ผิวสูงดวย ทําใหแรงยึดติดของอะลูมิเนียมจะสูง
ตามไปดวย โดยทั่วไปวัสดุที่จะนํามาอาบไออะลูมิเนียมควรมีคาพลังงานที่ผิว ตั้งแต 40-50
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
ดายนตอเซนติเมตร
(2) ความเรียบของวัสดุจะทําใหการยึดติดของอะลูมิเนียมสม่ําเสมอยิ่งขึ้น ซึ่งมักเปนปญหาที่พบ
บอยกับกระดาษ จึงตองเลือกใชกระดาษเคลือบดวยแล็กเกอรหรือวานิช สําหรับฟลมพลาสติก
ที่ขึ้นรูปดวยวิธีหลอ (Casting) จะมีความเรียบและความหนาสม่ําเสมอดีกวาฟลมที่ขึ้นรูปดวย
วิธีการเปา (Blow process)
(3) การจัดระเบียบโครงสรางโมเลกุล (Orientation) โดยเฉพาะการจัดระเบียบทั้ง 2 ทิศทาง
(Biaxial orientation) และมีการอบออน (Annealing) ดวย จะทําใหฟลมพลาสติกมีความใส
ทนทานแรงดึงและความรอนในระหวางการอาบไอโลหะไดดีขึ้น ฟลมไมยน การยึดติดของ
อะลูมิเนียมจะดีขึ้น
(4) ความหนาของชั้นอะลูมิเนียมที่เพิ่มขึ้นจะทําใหคุณสมบัติปองกันการซึมผานของวัสดุสูงขึ้น
ตามไปดวย แตถาความหนาสูงเกินไปจะทําใหอะลูมิเนียมหลุดลอกออกมาไดงายเมื่อถูกขูดขีด
copy right copy right copy right copy right