Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       43


                        การใชงานทางการบรรจุทั่วไปใชความหนา 200-350 อังสตรอม และ 500-700 อังสตรอม

                        สําหรับงานที่ตองการสมบัติการปองกันการซึมผานสูง (Chomon, 1992)

     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   ตัวอยางวัสดุบรรจุอาบไออะลูมิเนียม

                   วัสดุบรรจุออนตัวที่นิยมนํามาอาบไออะลูมิเนียม ไดแก OPET, BOPP, CPP, ON, PVC กระดาษ

                   และเซลโลเฟน การใชงานทางการบรรจุที่พบสวนใหญใชบรรจุผลิตภัณฑอาหารและยาที่ตองปองกัน
                   ออกซิเจน ความชื้น และแสง และใชในรูปวัสดุลามิเนต ตัวอยางวัสดุอาบไออะลูมิเนียมและการใช

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   งานดังแสดงในตารางที่ 2-3


                   ตารางที่ 2-3 ตัวอยางวัสดุอาบไออะลูมิเนียมและการใชงาน
                    Material structure                                             Products

                    15 microns met.BON / 50 microns LDPE                           Coffee
                    20 microns OPP / 20 micron met.OPP / 30 microns LDPE           Snack

                    12 microns met.OPET / 40 microns MDPE                          Condiment
                    50 microns Ionomer / 12 microns met.OPET / 80 microns EVA      Wine (Bag-in-box)

                    Paper / 20 microns met.OPP / 50 microns Ionomer                Medical products
                   ที่มา: ดัดแปลงจาก Soroka (2002)

                   หมายเหตุ: met. หมายถึง Metallized
                              OPET หมายถึง Oriented Polyethylene terephthalate

                              OPP หมายถึง Oriented Polypropylene

                              BON หมายถึง Bi-axially oriented Nylon

                   การหาความหนาของอะลูมิเนียมบนวัสดุ

                   ความหนาของชั้นอะลูมิเนียมที่ยึดติดบนวัสดุจะมีความหนาในระดับนาโนเมตรหรืออังสตรอม ทําให


                   การวัดความหนาโดยตรงไมสะดวก จึงประยุกตหลักการวัดความหนาแนนเชิงแสง หรือ Optical
                   density (OD) มาใชแทน โดยวัดแสงที่ผานวัสดุดวยเครื่อง Densitometer การคํานวณคา OD ดัง

                   แสดงในสมการขางลางนี้ ทั้งนี้คา OD จะขึ้นกับชนิดวัสดุที่นํามาอาบไออะลูมิเนียมดวย จึงไมควรนํา
                   คา OD ของวัสดุชนิดหนึ่งมาเทียบหาความหนาของอะลูมิเนียมบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ฟลมพลาสติก
                   อาบไออะลูมิเนียมที่ใชงานทางการบรรจุทั่วไปมีคา OD ตั้งแต 0.5-3.5



                                             OD   log          1            
                                                                               
                                                         Light transmissi on  rate  

                                           copy right       copy right    copy right    copy right








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60