Page 162 -
P. 162

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   150







     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right










                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right










                   ภาพที่ 6-12 โครงสร้างไอออนอเมอร์ (ก) สายโซ่แกน (ข) การเกิดพันธะเชิงไอออนระหว่างสายโซ่

                   ที่มา: งามทิพย์ (2550)



                   ไอออนอเมอร์ นิยมใช้กับการบรรจุด้วยระบบเทอร์มอฟอร์มที่ต้องการให้วัสดุแนบติดกับผลิตภัณฑ์

                   เรียกว่า Skin packaging และเทอร์มอฟอร์มที่ต้องดึงฟิล์มลงในแม่พิมพ์ที่ลึกมาก เรียกว่า Deep-
                   draw thermoforming ไอออนอเมอร์ใช้เป็นฟิล์มปิดผนึกด้วยความร้อน ซึ่งมีช่วงอุณหภูมิปิดผนึกที่

                   กว้างและสามารถปิดผ่านสิ่งปนเปื้อนได้ จึงนิยมใช้กับการบรรจุภายใต้สุญญากาศ ค่า Hot tack สูง
                   จึงใช้เป็นฟิล์มปิดผนึกด้วยความร้อนสําหรับวัสดุที่ใช้กับเครื่องบรรจุประเภท Vertical form-fill-seal
                   นอกจากนี้ยังใช้กับการลามิเนตแผ่นเปลวอะลูมิเนียม เนื่องจากไอออนอเมอร์ยึดเกาะได้ดีกับ
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   อะลูมิเนียม จึงใช้เป็นฟิล์มปิดผนึกด้วยความร้อนสําหรับวัสดุหลายชั้นที่มีแผ่นเปลวอะลูมิเนียมอยู่

                   ด้วย และใช้ลามิเนตด้วยวิธีอัดรีดร่วม (Co-extrusion lamination) กับ Nylon, PET และ LDPE


                                      +
                   ไอออนอเมอร์ที่ใช้ Na  มีคุณสมบัติเด่นด้านความโปร่งใส การต้านทานไขมัน และ Hot tack สูง แต่
                                                           ++
                   ไวต่อความชื้น ในขณะที่ไอออนอเมอร์ ที่มี Zn  มีสมบัติยึดติดกับแผ่นเปลวอะลูมิเนียมได้ดีกว่า
                   และต้านทานความชื้นได้ดีกว่า




                   1.6.2  เอทิลีนไวนิลแอซีเทต (Ethylene vinyl acetate หรือ EVA)

                   EVA เป็นพอลิเมอร์ร่วมได้จากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ระหว่างเอทิลีนกับไวนิลแอซีเทต (Vinyl

                   acetate หรือ VA) เป็นมอนอเมอร์ร่วม โครงสร้างของ VA แสดงในภาพที่ 6-13 หมู่แอซีเทตมีสภาพ
                   มีขั้วและมีขนาดใหญ่ทําให้ EVA มีโครงสร้างสายโซ่แบบกิ่ง นอกจากนี้การจัดเรียงตัวของ VA เป็น






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167