Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               44                                                                            บทที่ 2





                       1.  ความเขมขนของสาร A จะลดลงแบบเอกซโพเนนเชียล จนกระทั่งเปนศูนย ซึ่งจะเร็ว
               หรือชาขึ้นกับคาคงที่อัตรา k  แตไมขึ้นกับคาคงที่อัตรา k
                                                               2
                                       1
                       2.  ความเขมขนของสาร B  จะเพิ่มขึ้นจนมีคาสูงสุดคือ [B]   ที่เวลา t   โดยขึ้นกับ
                                                                                     max
                                                                          max
               คาคงที่อัตราทั้งสองคือ k  และ k   ดังนี้
                                           2
                                    1
                          ในกรณีที่ k >> k   จะไดความเขมขนของสาร B  เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วไปสูคาความ
                                           2
                                    1
               เขมขนเริ่มตนของสาร A หรือ [B]  ~ [A]  จากนั้นความเขมขนของสาร B จะลดลงอยางชาๆ เพื่อ
                                                    0
                                            max
               เปลี่ยนเปนผลิตภัณฑ C
                          สวนกรณีที่ k << k  จะไดความเขมขนของสาร B เพิ่มขึ้นอยางชาและนอยกวา [A] 0
                                           2
                                      1
               มากๆ เนื่องจากสาร B เปลี่ยนเปนสาร C อยางเร็ว

                       3.  ความเขมขนของสาร C  อาจจะตรวจไมพบในชวงเริ่มตน  อยางไรก็ตามความเขมขน

               ของสาร C  จะมีคาเพิ่มขึ้นจนมีคาคงที่โดยขึ้นกับความเขมขนเริ่มตนของสาร A  และความเขมขน
               ของสาร C จะเพิ่มขึ้นมากในชวงที่ความเขมขนของสาร B มีคาสูงสุดและเริ่มลดลง



                       2.6.2  ปฏิกิริยาขนาน (Parallel) หรือปฏิกิริยาแขงขัน (Competing)

                       ปฏิกิริยาขนานหรือปฏิกิริยาแขงขัน  คือ  ปฏิกิริยาที่มีสารตั้งตนเหมือนกัน  แตใหผลิตภัณฑ

               ตางกัน และมีคาคงที่อัตราในแตละปฏิกิริยาตางกัน ดังนั้นปฏิกิริยาขนานจึงเปนปฏิกิริยาที่มีมากกวา
               หนึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นพรอมๆ กัน และเรียกปฏิกิริยาที่ใหผลิตภัณฑที่มีปริมาณมาก วา ปฏิกิริยาหลัก

               (main reaction) สวนปฏิกิริยาใดที่ใหปริมาณของผลิตภัณฑนอย จะถือวาเปนปฏิกิริยาขางเคียง (side

               reaction)
                       โดยทั่วไปการควบคุมปริมาณของผลิตภัณฑในแตละปฏิกิริยาของปฏิกิริยาขนานมี 2  แบบ

               คือ

                       ก.  การควบคุมทางอุณหพลวัต (thermodynamic control)  จะใหผลิตภัณฑหลัก (main
               product) หรือผลิตภัณฑที่มีปริมาณมาก จะเปนสารที่เสถียรมากกวา (more stable) สารอื่นๆ

                       ข. การควบคุมทางจลนพลศาสตร (kinetic control) จะใหผลิตภัณฑหลัก (main product)

               ที่มาจากปฏิกิริยาที่มีคาคงที่อัตรามากกวาปฏิกิริยาอื่นๆ
                       ดังนั้นในชวงตนของปฏิกิริยาขนาน   การเกิดผลิตภัณฑตางๆ     จะถูกควบคุมโดย

               จลนพลศาสตร (kinetic control) แตชวงทายของปฏิกิริยา การเกิดผลิตภัณฑตางๆ จะถูกควบคุมโดย
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58