Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                                                             เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม


                                                                                                     การที่ต้องบังคับออมในลักษณะนี้ เนื่องจากพบว่าถ้าปล่อยให้ออมเองตาม
                                                                                             ความสมัครใจมักไม่ประสบความสำาเร็จ สหกรณ์จึงเปลี่ยนแนวคิดเรื่องเงินออม

           สหกรณ์ออมทรัพย์ :                                                                 ใหม่จาก “เงินออม = รายได้ – รายจ่าย” ซึ่งมีนัยว่าเมื่อมีรายได้แล้วจะนำาไปใช้
                                                                                             จ่ายก่อน ถ้าเหลือก็จะเป็นเงินออม ซึ่งปรากฏว่าตามแนวคิดนี้เงินออมที่ได้จะน้อย

                                                                                             มาก (บางครั้งไม่มีเลย) และไม่ต่อเนื่อง มาเป็น “รายจ่าย = รายได้ – เงินออม”
           บริกำรหลักเพื่อสมำชิก                                                             คือมีรายได้เข้ามาแล้วจะต้องหักส่วนหนึ่งเป็นเงินออมก่อน ส่วนที่เหลือจึงเอาไป


                                                                                             ใช้จ่าย ซึ่งตามแนวความคิดใหม่นี้จะทำาให้สามารถออมเงินได้
                                                                                                     เพื่อให้การออมในรูปของหุ้นมีความต่อเนื่องมั่นคง โดยทั่วไปจึงกำาหนด

           เกริ่นกันก่อน                                                                     ให้มีการออมอย่างสมำ่าเสมอ (ปกติคือเดือนละ 1 ครั้ง) และไม่สามารถถอนได้

                  ประเทศไทยแบ่งสหกรณ์ออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร                  จนกว่าจะออกจากการเป็นสมาชิก
           สหกรณ์นิคม สหกรณ์ประมง สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์บริการ                         2) การออมในรูปเงินฝาก ในกรณีที่สมาชิกมีเงินเหลือหลังจากออมใน

           และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน  อย่างไรก็ตามในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะสหกรณ์              รูปของหุ้น และใช้จ่ายไปแล้ว สมาชิกอาจนำาเงินที่เหลือดังกล่าวไปซื้อหุ้นเพิ่มเติม
           ออมทรัพย์เท่านั้น                                                                 ได้ อย่างไรก็ตามสมาชิกบางคนอาจไม่ต้องการออมเพิ่มในรูปของหุ้น เนื่องจากไม่
                  “สหกรณ์ออมทรัพย์” เป็นสหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นโดยคนที่มีปัญหาหรือความ          สามารถถอนออกมาใช้ตามความต้องการได้ เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกมีช่องทางการ
           ต้องการบริการทางการเงิน โดยคนเหล่านี้ทำางานอยู่ในหน่วยงานเดียวกัน ดังนั้น         ออมที่ยืดหยุ่นมากขึ้น (สามารถถอนออกไปใช้ได้) สหกรณ์ทั่วไปจึงเปิดบริการรับ
           ภารกิจหลักของสหกรณ์ออมทรัพย์คือการให้บริการทางการเงินแก่สมาชิก ได้แก่             ฝากเงินจากสมาชิกด้วย โดยทั่วไปแบ่งเงินรับฝากออกเป็น 3 ประเภท คือ ออม

           การส่งเสริมการออม และการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ซึ่งมีเนื้อหาโดยสังเขป         ทรัพย์ ออมทรัพย์พิเศษ และประจำา
           ดังนี้
                                                                                                     กรณีเงินฝากออมทรัพย์บางครั้งเรียกว่า “เงินฝากเผื่อเรียก” คือเงินฝาก
                                                                                             ประเภทที่ผู้ฝากสามารถถอนคืนเมื่อไหร่ก็ได้ ทำาให้การบริหารเงินฝากประเภทนี้
           การส่งเสริมการออม

                  โดยทั่วไปสหกรณ์ออมทรัพย์ส่งเสริมให้สมาชิกออมใน 2 รูปแบบ ดังนี้             ทำาได้ยาก ดังนั้นสหกรณ์จะจ่ายดอกเบี้ยให้กับเงินฝากประเภทนี้ในอัตราตำ่ากว่า
                  1) การออมในรูปของหุ้น กรณีนี้เป็นการบังคับออม คือสมาชิกทุกคน               เงินฝากประเภทอื่น ส่วนเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ มีลักษณะโดยทั่วไปเหมือนเงิน
           ต้องออมเป็นประจำาทุกเดือน โดยสหกรณ์จะกำาหนดจำานวนออมขั้นตำ่าของแต่ละ              ฝากออมทรัพย์ แต่จะมีข้อกำาหนดพิเศษบางประการ เช่น ต้องคงยอดเงินฝากขั้น

           ระดับเงินเดือนไว้ ใครมีเงินเดือนระดับใดก็จะต้องออมในรูปของหุ้นเป็นรายเดือน        ตำ่าไว้ในบัญชี จำานวนหนึ่ง กำาหนดจำานวนครั้งที่สามารถถอนเงินได้ในแต่ละเดือน
           อย่างน้อยตามอัตราที่กำาหนด ซึ่งในทางปฏิบัติจะถูกหักจากเงินเดือน ณ ที่จ่ายโดย      เป็นต้น การกำาหนดดังกล่าวทำาให้สหกรณ์สามารถบริหารเงินฝากดังกล่าวได้ง่าย
           หน่วยงานที่ทำาหน้าที่จ่ายเงินเดือน                                                ขึ้น เงินฝากประเภทนี้จึงได้รับดอกเบี้ยในอัตราที่สูงกว่าเงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป

         22                                                                                                                                                    23
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38