Page 28 -
P. 28
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สหกรณ์ออมทรัพย์ เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
4
โดยทั่วไปสหกรณ์จะจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญ ปีละหนึ่งครั้งภายใน แผนและงบประมาณประจำาปีให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณา (3) แต่งตั้งหรือจัดจ้างผู้
หนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ (วันปิดบัญชีประจำาปี) จัดการและควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผู้จัดการ (4) กำาหนดระเบียบต่างๆ ของ
อย่างไรก็ตามสหกรณ์อาจเรียกประชุมใหญ่วิสามัญเมื่อใดก็ได้ขึ้นอยู่กับความจำาเป็น สหกรณ์ และ(5) ทำากิจกรรมอื่นๆ ตามที่ระบุไว้ในข้อบังคับ ระเบียบ และมติของ
ที่ประชุมใหญ่มีหน้าที่ในการวินิจฉัยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินกิจการ สหกรณ์
ทั้งปวงของสหกรณ์ แต่ที่สำาคัญคือ (1) เลือกตั้งและถอดถอนกรรมการดำาเนินการ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากภารกิจของคณะกรรมการค่อนข้างกว้างขวาง
และผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ (2) อนุมัติงบดุล และจัดสรรกำาไรสุทธิประจำา และมีรายละเอียดมาก ในทางปฏิบัติจึงมีการตั้งคณะกรรมการย่อยๆ ขึ้นมา เพื่อ
ปีของสหกรณ์ (3) อนุมัติแผนงาน งบประมาณรายจ่าย และวงเงินกู้ยืมของสหกรณ์ รับผิดชอบงานเฉพาะด้าน คณะกรรมการย่อยที่ตั้งกันโดยทั่วไป ได้แก่ คณะ
ประจำาปี และ(4) ดำาเนินการอื่นๆ ที่ทำาให้สหกรณ์สามารถช่วยเหลือสมาชิกได้ตาม กรรมการอำานวยการ (บางแห่งเรียกว่าคณะกรรมการบริหาร) คณะกรรมการเงิน
วัตถุประสงค์ กู้ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ นอกเหนือจากคณะกรรมการย่อย 3
ชุด ดังกล่าวแล้ว อาจตั้งคณะกรรมการย่อยอื่นๆ เพิ่มเติมได้อีกตามความจำาเป็น
คณะกรรมการดำาเนินการ
แม้ว่าสมาชิก (ผ่านที่ประชุมใหญ่) จะมีอำานาจสูงสุดในสหกรณ์ แต่เมื่อ ผู้จัดการและเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์
เนื่องจากงานของสหกรณ์เป็นงานที่ต้องดำาเนินการอย่างต่อเนื่อง (เป็น
ถึงขั้นตอนของการบริหารงานจริง สมาชิกทุกคนจะเข้ามาบริหารงานเองคงเป็น งานประจำา) ในขณะที่กรรมการดำาเนินการส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีงานประจำาของตนเอง
เรื่องยุ่งยาก โดยเฉพาะสหกรณ์ที่มีสมาชิกจำานวนมาก จึงจำาเป็นต้องมอบหมายให้ อยู่แล้ว ไม่สามารถมาทำางานประจำาให้สหกรณ์ได้ จึงจำาเป็นต้องจ้างผู้จัดการและ
สมาชิกกลุ่มหนึ่งเข้ามาทำาหน้าที่แทน สมาชิกกลุ่มนี้เรียกว่าคณะกรรมการดำาเนิน เจ้าหน้าที่เข้ามารับผิดชอบแทน บางสหกรณ์อาจมีเจ้าหน้าที่เพียงไม่กี่คน แต่บาง
การซึ่งได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่ ประกอบด้วยตำาแหน่งประธาน รอง สหกรณ์อาจมีเจ้าหน้าที่หลายสิบคน ต้องขอยำ้าว่าเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์จะอยู่ภาย
ประธาน (หนึ่งคนหรือมากกว่า) เลขานุการ ที่เหลือนอกนั้นเป็นกรรมการ อย่างไร ใต้การบังคับบัญชาโดยตรงของผู้จัดการไม่ใช่กรรมการดำาเนินการ
ก็ตาม บางสหกรณ์อาจมีตำาแหน่งเหรัญญิกด้วย ทั้งนี้จำานวนกรรมการดำาเนินการ ในปัจจุบันผู้จัดการและเจ้าหน้าที่ซึ่งอาจเรียกรวมๆ ว่าฝ่ายจัดการ มีส่วน
จะต้องมีไม่น้อยกว่า 9 คน แต่ไม่เกิน 15 คน สำาคัญมากต่อการพัฒนาสหกรณ์ เพราะเป็นผู้ติดต่อและให้บริการสมาชิกโดยตรง
อำานาจหน้าที่ที่สำาคัญของคณะกรรมการดำาเนินการ ได้แก่ (1) ดูแลบริหาร เป็นผู้ที่จะทำาให้สมาชิกพอใจหรือไม่พอใจการดำาเนินงานของสหกรณ์ ดังนั้นในการ
ทรัพย์สินและธุรกิจของสหกรณ์ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ (2) จัดประชุมใหญ่ คัดสรรคนเข้ามาทำางานจึงต้องดำาเนินการอย่างรอบคอบ
เพื่อเสนองบดุล รายงานผลการดำาเนินงาน เสนอแนะการจัดสรรกำาไรสุทธิ เสนอ
4 การประชุมใหญ่สามัญอาจเป็นการประชุมใหญ่สมาชิก หรือ การประชุมใหญ่ผู้แทนสมาชิก ก็ได้ ผู้ตรวจสอบกิจการ
แล้วแต่ข้อบังคับของแต่ละสหกรณ์ อย่างไรก็ตามโดยปกติถ้าเป็นสหกรณ์ขนาดเล็กมีสมาชิกไม่มาก
ก็จะใช้การประชุมใหญ่สมาชิกโดยตรง แต่ในกรณีของสหกรณ์ขนาดใหญ่ มีสมาชิกเป็นจำานวนมาก นอกจากเลือกตั้งคณะกรรมการดำาเนินการแล้ว ที่ประชุมใหญ่ยังเลือก
ข้อบังคับอาจกำาหนดให้ใช้การประชุมใหญ่ผู้แทนสมาชิก แทนการประชุมใหญ่สมาชิกก็ได้ บุคคลหรือคณะบุคคลอีกชุดหนึ่งให้เข้ามาทำาหน้าที่ในการตรวจสอบการทำางาน
18 19