Page 34 -
P. 34
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สหกรณ์ออมทรัพย์
สำาหรับเงินฝากประจำา เป็นเงินฝากที่มีระยะเวลาในการถอนคืนชัดเจน
เช่น 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี หรือ อื่นๆ ทำาให้สหกรณ์สามารถวางแผนบริหารเงินที่
รับฝากมาได้ง่าย เงินฝากประเภทนี้จึงได้รับดอกเบี้ยในอัตราที่สูงกว่าเงินฝาก
ประเภทอื่น อย่างไรก็ตามดอกเบี้ยที่ได้จากเงินฝากประจำาต้องเสียภาษีในอัตรา สหกรณ์ออมทรัพย์ :
ร้อยละ 15 ต่อปี
วิธีกำรท�ำงำนเพื่อสมำชิก
การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สมาชิก
สหกรณ์ให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่สมาชิกผ่านบริการสินเชื่อ หรือ
การให้เงินกู้ ซึ่งโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เงินกู้ฉุกเฉิน สามัญ และ
พิเศษ สำาหรับ เงินกู้ฉุกเฉิน เป็นเงินที่ให้กู้เพื่อเหตุจำาเป็นเร่งด่วน โดยปกติวงเงิน เกริ่นกันก่อน
ที่ให้จะไม่สูงมากนัก เช่น 1 – 3 เท่าของเงินเดือนของสมาชิก แต่ไม่เกิน 60,000 ก่อนที่จะคุยกันถึงการพัฒนาสหกรณ์ออมทรัพย์ไปสู่การเป็นศูนย์กลาง
บาท เป็นต้น กำาหนดการชำาระคืนสำาหรับเงินกู้ประเภทนี้ค่อนข้างสั้น เช่น 2 – 6 ทางการเงินและสวัสดิการของสมาชิก ตามที่ได้เกริ่นไว้ในบทที่แล้ว ผมขอเล่าให้
เดือน เป็นต้น
ส่วนเงินกู้สามัญ เป็นเงินที่ให้กู้ยืมเพื่อกิจกรรมทั่วๆ ไป วงเงินให้กู้ยืมและ ท่านผู้อ่านได้ทราบถึงวิธีการทำางานของสหกรณ์ออมทรัพย์โดยสังเขปก่อน เชิญ
ระยะเวลาในการชำาระคืนจะมากกว่าเงินกู้ฉุกเฉิน เช่น วงเงินไม่เกิน 500,000 บาท ติดตามครับ
ชำาระคืนภายใน 100 งวดเดือน เป็นต้น โดยทั่วไปเงินกู้ลักษณะนี้จะมีบุคคล (เพื่อน
สมาชิก) 2 คน คำ้าประกันเงินกู้ วิธีการทำางานโดยสังเขป
สำาหรับเงินกู้พิเศษ เป็นเงินกู้ที่มีวงเงินค่อนข้างสูง ระยะเวลาชำาระคืน งานของสหกรณ์ออมทรัพย์เริ่มต้นจากการออมของสมาชิก ทั้งในรูปของ
ยาว บางกรณีอาจยาวถึง 20 ปี เงินกู้แบบนี้ต้องมีอสังหาริมทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ หุ้นและเงินฝาก โดยทั่วไปการออมจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการออมใน
คำ้าประกัน ส่วนใหญ่สมาชิกที่กู้เงินประเภทนี้มักนำาไปใช้ในการซื้อสินทรัพย์ถาวร รูปของหุ้น เมื่อได้เงินออมมาแล้ว สหกรณ์จะนำามาให้กู้แก่สมาชิกที่มีความเดือดร้อน
เช่น ที่อยู่อาศัย รถยนต์ หรือลงทุนในการประกอบอาชีพ วงเงินที่ให้กู้แบบนี้อาจ หากเงินออมที่มีไม่เพียงพอ ก็จะติดต่อกับสหกรณ์และ/หรือสถาบันการเงินอื่น
สูงถึง 10 ล้านบาท หรือมากกว่า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับฐานะและนโยบายของแต่ละสหกรณ์ เพื่อขอกู้และ/หรือรับฝาก แล้วนำามาให้สมาชิกที่เดือดร้อนกู้ต่อไป (ภาพที่ 2)
ส่งท้ายก่อนจาก โดยปกติ เหตุการณ์ที่เงินออมไม่เพียงพอให้สมาชิกกู้ยืมนั้นจะเกิดขึ้นใน
ที่กล่าวมาท่านผู้อ่านคงพอเห็นภาพบริการทางการเงินที่สำาคัญของสหกรณ์ ระยะแรกๆ ของการตั้งสหกรณ์ ทั้งนี้พบว่าเมื่อดำาเนินการไปได้ระยะหนึ่งแล้ว (อาจ
ออมทรัพย์ อย่างไรก็ตามผู้นำาสหกรณ์ออมทรัพย์จำานวนหนึ่ง พยายามพัฒนา ใช้เวลาไม่กี่ปีหรือหลายปีแล้วแต่เงื่อนไขของแต่ละสหกรณ์) บางสหกรณ์จะมีเงิน
สหกรณ์ออมทรัพย์ไปสู่การเป็นศูนย์กลางทางการเงินและสวัสดิการของสมาชิก ออม ของสมาชิกเกินกว่าความต้องการกู้ (มีเงินเหลือ) เมื่อเกิดกรณีเช่นนี้ สหกรณ์
ซึ่งจะได้กล่าวถึงในโอกาสต่อไป จะนำาเงินส่วนที่เกินความต้องการไปบริหารหาผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่งอาจทำาได้
24 25