Page 18 -
P. 18
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สหกรณ์ออมทรัพย์ เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ลูกค้าซึ่งเป็นบุคคลอื่น ไม่ใช่เจ้าของกิจการ ในทางตรงกันข้าม การดำาเนินงานของ 6) หน้าที่ของเงินทุน (หุ้น) ในขณะที่หุ้นในบริษัททำาหน้าที่ให้กับผู้เป็น
สหกรณ์ ไม่ได้มุ่งแสวงหากำาไร แต่มุ่ง “จัดบริการที่ดีกว่า” ให้กับผู้ใช้บริการ เจ้าของถึง 3 ประการคือ ให้ดอกเบี้ย ให้กำาไร และให้อำานาจในการควบคุมกิจการ
(ลูกค้า) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสมาชิก หรือเจ้าของสหกรณ์ นั่นเอง การแสวงหากำาไรจึง หุ้นของสหกรณ์จะทำาหน้าที่ให้เจ้าของเพียงอย่างเดียวคือให้ดอกเบี้ย (ในอัตรา
ไม่ใช่เป้าหมายของสหกรณ์ จำากัด) ซึ่งเป็นอีกกรณีหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่าสหกรณ์ให้ความสำาคัญกับเงินทุนน้อยกว่า
2) ความเป็นเจ้าของ จากที่กล่าวมาในข้อหนึ่งอาจกล่าวได้ว่าสหกรณ์ บริษัท
3
เป็นองค์กรของผู้ใช้บริการ (ลูกค้า) ในขณะที่บริษัทเป็นองค์กรของผู้ลงทุน 7) กำาไร (เงินส่วนเกิน) ของกิจการและการจัดสรร ในกรณีของบริษัท
กำาไรเป็นของบริษัท คณะกรรมการของบริษัทเป็นผู้ตัดสินใจจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้น
3) ลักษณะการรวม บริษัทถือหลักการ “รวมทุน” เป็นสำาคัญ ใครก็ตาม
ที่มีเงินย่อมจะเข้ามาถือหุ้นของกิจการได้ ส่วนสหกรณ์ถือเอาการ “รวมคน” เป็น ตามส่วนแห่งการลงทุน แต่ในกรณีของสหกรณ์เงินส่วนเกินเป็นของสมาชิก ที่
หลัก ทั้งนี้เพราะสมาชิกของสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นผู้มีทุนน้อย และสหกรณ์ถูกจัด ประชุมใหญ่สมาชิกจะเป็นผู้พิจารณาจัดสรร โดยอาจจัดสรรเป็นทุนประเภทต่างๆ
ตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าว ดังนั้นใครก็ตามที่มีคุณสมบัติตามข้อบังคับ ของสหกรณ์ เป็นเงินปันผลแก่หุ้น (ในอัตราจำากัด) เป็นเงินเฉลี่ยคืนให้แก่สมาชิก
ของสหกรณ์และสามารถใช้บริการของสหกรณ์ได้ ก็สามารถเข้าเป็นสมาชิกของ ตามส่วนที่สมาชิกแต่ละคนทำาธุรกิจกับสหกรณ์ (ทำาน้อยได้คืนน้อย ทำามากได้คืน
มาก) เป็นต้น
สหกรณ์ได้ โดยไม่ได้คำานึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจ
8) การจัดการกับทรัพย์สินที่เหลืออยู่หลังจากเลิกกิจการ เมื่อเลิกกิจการ
4) หุ้นและราคาหุ้น ในการจัดตั้งบริษัท จำาเป็นต้องกำาหนดจำานวนทุนจด ในกรณีของบริษัท หลังจากชำาระบัญชีแล้วหากยังมีทรัพย์สินเหลืออยู่สามารถ
ทะเบียนไว้แน่นอน และถ้ากิจการเจริญก้าวหน้าสามารถจ่ายเงินปันผลให้กับหุ้น นำามาแบ่งปันกันในหมู่ผู้ถือหุ้นได้ แต่ในกรณีของสหกรณ์ไม่สามารถทำาได้ ทั้งนี้
ที่ถือได้สูง ก็จะจูงใจให้มีคนต้องการซื้อหุ้นของบริษัทมากขึ้น ราคาของหุ้นก็จะสูง โดยทั่วไปจะกำาหนดให้โอนทรัพย์สินที่เหลือหลังชำาระบัญชีให้สหกรณ์อื่น ให้องค์กร
ขึ้น ในทางตรงกันข้ามราคาของหุ้นก็จะลดลง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าราคาหุ้นของ ศาสนา หรือองค์กรสาธารณประโยชน์ สำาหรับในกรณีของประเทศไทย พระราช
บริษัทไม่แน่นอน ส่วนกรณีของสหกรณ์ กฎหมายเปิดโอกาสให้เพิ่มหุ้นได้อยู่ตลอด บัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ระบุให้โอนให้สหกรณ์อื่น หรือ สันนิบาตสหกรณ์แห่ง
เวลา ไม่มีการจำากัด ดังนั้นราคาหุ้นของสหกรณ์จะคงที่ตลอดเวลา ประเทศไทย
5) การควบคุมการดำาเนินงาน ในกรณีของบริษัททุนจะเป็นตัวควบคุม 3 เนื่องจากลูกค้าหลักของสหกรณ์คือสมาชิกซึ่งเป็นเจ้าของสหกรณ์ ดังนั้นสหกรณ์จึงไม่แสวงหากำาไร
การดำาเนินกิจการ ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นมากจะมีสิทธิออกเสียงควบคุมธุรกิจได้มากตามไป จากการทำาธุรกิจ (เป็นองค์กรไม่แสวงหากำาไร) อย่างไรก็ตามในการดำาเนินธุรกิจย่อมมีค่าใช้จ่าย
ด้วย (1 หุ้น 1 เสียง) และยังยอมให้ออกเสียงแทนกันได้ด้วย แต่สำาหรับสหกรณ์ ในการดำาเนินการเกิดขึ้น ดังนั้นเพื่อให้การดำาเนินการเป็นไปได้สหกรณ์จึงต้องตั้งราคาของสินค้า/
บริการไว้สูงกว่าราคาทุนที่ต้องจ่ายซื้อบริการนั้นเข้ามา ส่วนแตกต่างที่เกิดขึ้นนี้สหกรณ์ก็จะนำาไป
การควบคุมกิจการจะยึดวิธีการแบบประชาธิปไตย คือ 1 คน 1 เสียง (ยกเว้นกรณี ใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการดำาเนินการ หากใช้ไม่หมดหรือมีเหลืออยู่สหกรณ์จะเรียกส่วนที่เหลือนั้นว่า
ชุมนุมสหกรณ์ที่อาจดำาเนินการแบบอื่นที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นประชาธิปไตย “ส่วนเกิน” ซึ่งจะถูกจัดสรรไปเพื่อการพัฒนางานสหกรณ์ในอนาคต จัดสรรเป็นเงินปันผลแก่
ทุนเรือนหุ้น และถูกจัดสรรคืนให้แก่สมาชิกผู้จ่ายเกินมาจากที่ควรจะเป็นตามสัดส่วนแห่งการ
เช่นกัน ซึ่งจักได้กล่าวถึงในภายหลัง) และไม่สามารถออกเสียงแทนกันได้ ทำาธุรกิจ
8 9