Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                                                             เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม



                                                                                             มีการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์อีก 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2509 และ
                                                                                             ปี พ.ศ. 2538 ซึ่งถือใช้อยู่ในปัจจุบัน ประกอบด้วยหลัก 7 ประการดังนี้


           หลักสหกรณ์                                                                        หลักการที่ 1  การเปิดรับสมาชิกทั่วไปและด้วยความสมัครใจ : สหกรณ์เปิดรับ
                                                                                                          คนที่ยอมรับเงื่อนไขและสามารถใช้บริการของสหกรณ์ได้เป็นสมาชิก
                                                                                                          โดยไม่มีการกีดกันทางเพศ สังคม เชื้อชาติ การเมือง หรือศาสนา
                                                                                                          และไม่มีการบังคับ คือเป็นไปตามความสมัครใจของแต่ละบุคคล

                                                                                             หลักการที่ 2  การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย : สหกรณ์เป็น
           เกริ่นกันก่อน                                                                                  องค์กรที่ควบคุมโดยสมาชิก ในสหกรณ์ขั้นปฐม (สมาชิกเป็นคน

                  การปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในยุโรป ก่อให้เกิดปัญหาทาง                        ทั่วไป) สมาชิกมีสิทธิในการออกเสียงเท่ากัน คือ “หนึ่งคน หนึ่ง
           เศรษฐกิจและสังคมอย่างรุนแรงกับชาวบ้านทั่วไปทั้งที่เป็นผู้ประกอบการรายย่อย                      เสียง” สำาหรับสหกรณ์ระดับอื่น (ชุมนุมสหกรณ์ หรือสหกรณ์ที่มี

           ผู้ใช้แรงงาน และเกษตรกร เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวชาวบ้านจำานวนหนึ่งได้                           สหกรณ์เป็นสมาชิก) ก็ให้ดำาเนินการตามแนวทางประชาธิปไตยที่
           ตั้งองค์กรรูปแบบใหม่ขึ้นมาเรียกว่า “สหกรณ์” และใช้เป็นเครื่องมือในการแก้                       เหมาะสม ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันออกไปบ้างตามเงื่อนไขของ
                                                     2
           ปัญหา ตัวอย่างที่สำาคัญได้แก่ ร้านสหกรณ์รอชเดล  (ในอังกฤษ) สหกรณ์เครดิต                        แต่ละสหกรณ์
           ในเมืองของชุลท์เดลิท และสหกรณ์เครดิตในชนบทของไรฟ์ไฟเซน (ในเยอรมัน)                หลักการที่ 3  การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก : สมาชิกต้องมีส่วนร่วม
           เป็นต้น จากนั้นแนวความคิดและวิธีการสหกรณ์ได้ถูกแพร่กระจายออกไปอย่าง                            ในการลงทุน และควบคุมการใช้เงินทุนของสหกรณ์ โดยเงินทุนจะ

           กว้างขวาง มีการจัดตั้งสหกรณ์ขึ้นในเกือบทุกประเทศทั่วโลก ทั้งในค่ายทุนนิยม                      ได้รับผลตอบแทนหรือเงินปันผลในอัตราที่จำากัด (ถ้ามี) และผล
           และสังคมนิยม อย่างไรก็ตาม สหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นในประเทศต่างๆ เหล่านี้มีรูปแบบ                   ประโยชน์ส่วนเกิน (กำาไร) จากการดำาเนินงานจะถูกจัดสรรโดยที่
           และแนวทางในการดำาเนินการแตกต่างกันออกไป จนทำาให้เกิดความสับสนขึ้นใน                            ประชุมใหญ่สมาชิก เพื่อเป็นทุนสำารองสำาหรับพัฒนาสหกรณ์ เฉลี่ย

           ขบวนการสหกรณ์ จึงได้มีการพัฒนาหลักการกลางของสหกรณ์ขึ้นเรียกว่า                                 คืนให้แก่สมาชิกตามสัดส่วนของปริมาณธุรกิจที่ทำากับสหกรณ์
           หลักสหกรณ์สากล                                                                                 สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่สมาชิกต้องการ เป็นต้น

                                                                                             หลักการที่ 4  การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ : สหกรณ์เป็นองค์กรที่
           หลักสหกรณ์สากล                                                                                 พึ่งพาและปกครองตนเองโดยสมาชิก เป็นอิสระจากภาคราชการ

                  ในปี พ.ศ.2480 องค์การสัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ (International                       และเอกชน หลักการข้อนี้จะช่วยให้สหกรณ์ดำารงความเป็นตัวของ
           Cooperatives Alliance, ICA) ซึ่งเป็นองค์กรสูงสุดของขบวนการสหกรณ์โลก ได้                        ตัวเอง และเป็นกลาง ท่ามกลางสภาวะการต่าง ๆ ได้ อย่างไรก็ตาม

                                        2
           นำาเอาหลักการของสหกรณ์รอชเดล  มาปรับปรุงเป็นหลักสหกรณ์สากล ต่อมาได้                            มิได้หมายความว่าสหกรณ์จะไม่มีความสัมพันธ์กับภาคราชการ
           2   สหกรณ์รอชเดลถือว่าเป็นจุดกำาเนิดของขบวนการสหกรณ์โลก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2387 ใน        เอกชน และสังคมทั่วไปเลย ตรงกันข้ามสหกรณ์ต้องให้ความสำาคัญ
             ประเทศอังกฤษ เป็นสหกรณ์ผู้บริโภค                                                             กับองค์กรและบุคคลเหล่านี้อย่างจริงจัง
         4                                                                                                                                                      5
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19