Page 13 -
P. 13
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ในความหมายที่กล่าวถึงนี้สามารถแยกเนื้อหาออกได้เป็น 3 ส่วน คือ
(1) ประเภทขององค์กร (2) แนวทางในการดำาเนินงาน และ (3) เป้าหมายที่
ความหมาย ต้องการ ในส่วนแรกบอกว่าสหกรณ์ เป็น “องค์กรธุรกิจ” ซึ่งมีนัยว่าต้องทำากิจกรรม
ทางธุรกิจ เช่น การซื้อ การขาย หรือการให้บริการต่างๆ อย่างไรก็ตาม องค์กร
ของสหกรณ์ ธุรกิจนี้ตั้งขึ้นโดยคนที่มีความเดือดร้อนและต้องการใช้บริการจากองค์กรนี้แทน
การไปใช้บริการจากองค์กรธุรกิจอื่น จึงกล่าวได้ว่าสหกรณ์เป็นองค์กรของผู้ใช้
บริการ หรือ “เจ้าของและลูกค้าของสหกรณ์เป็นคนคนเดียวกัน”
เนื้อหาส่วนที่สองพูดถึงแนวทางในการดำาเนินงาน โดยยำ้าว่าการดำาเนินงาน
เกริ่นกันก่อน ของสหกรณ์ยืนอยู่บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง หมายความว่าผู้ที่จะเข้ามาเป็น
การทำาความเข้าใจว่าสิ่งที่กำาลังกล่าวถึงคืออะไรนั้น ต้องเริ่มต้นจาก สมาชิกของสหกรณ์ต้องมีความมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองก่อน ไม่ใช่
การทำาความเข้าใจความหมายของสิ่งนั้นเสียก่อน ดังนั้นในบทเริ่มต้นนี้จึงขอ เริ่มต้นจากการขอ อย่างไรก็ตาม หากปัญหาดังกล่าวไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตัว
กล่าวถึงความหมายของคำาว่า “สหกรณ์” ก่อน แล้วจึงจะไปอธิบายขยายความ คนเดียว ก็จะมีการร่วมมือกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ด้วยความเอื้ออาทรต่อกัน
ในแง่มุมอื่นๆ ในบทต่อๆ ไป บนพื้นฐานแห่งความสมัครใจและความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
สำาหรับส่วนที่สามบอกถึงเป้าหมายว่าสหกรณ์มุ่งปรับปรุงสภาพชีวิตความ
ความหมายของ “สหกรณ์” เป็นอยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้น ในทางเศรษฐกิจ สหกรณ์มุ่งลดภาระค่าใช้จ่ายของ
มีผู้ให้ความหมายของคำาว่า “สหกรณ์” ไว้แตกต่างกันออกไป อย่างไร สมาชิกขณะเดียวกันก็พยายามส่งเสริมการประกอบอาชีพของสมาชิกให้มีรายได้
ก็ตามเมื่อนำาเอาความหมายต่างๆ เหล่านี้รวมกันแล้ว อาจสรุปได้ว่า “สหกรณ์ มากกว่าต้นทุนและมีเงินเหลือเพียงพอสำาหรับการดำารงชีวิตในปัจจุบัน รวมถึง
เป็นองค์กรธุรกิจที่ตั้งขึ้นโดยกลุ่มคนที่มีปัญหาหรือความต้องการร่วมกัน โดย เหลือออมสำาหรับการใช้ชีวิตในอนาคตด้วย ในส่วนของสังคมนั้น ในภาพย่อย
ยึดหลักแห่งการร่วมมือ การช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ความ สหกรณ์มุ่งพัฒนาระบบสวัสดิการให้กับสมาชิกและชุมชน ส่วนภาพใหญ่สหกรณ์
เสมอภาค และความสมัครใจ ในการดำาเนินการ เพื่อให้สหกรณ์เป็นเครื่องมือ มุ่งพัฒนาคุณภาพของคนให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมต่อไป
ในการแก้ปัญหา (ตอบสนองความต้องการ) และยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ ส่งท้ายก่อนจาก
1
ของสมาชิก ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้น” ที่กล่าวมาทั้งหมดคงพอทำาให้เข้าใจรูปร่างหน้าตาคร่าวๆ ของสหกรณ์ได้
1 นอกจากมุมมองในเชิงธุรกิจแล้ว นักวิชาการทางด้านสหกรณ์หลายท่านยังมองสหกรณ์ในแง่มุม บ้างแล้วนะครับ อย่างไรก็ตามถ้าจะให้เข้าใจดีขึ้น ต้องรู้ถึงหลักสหกรณ์ที่ใช้กันอยู่
อื่นๆ อีกหลายแง่มุม ดังนี้ (1) สหกรณ์เป็นขบวนการทางสังคม ไม่ใช่กิจกรรมของคนใดคนหนึ่ง ด้วย ซึ่งผมจักได้อธิบายในหัวข้อต่อไปครับ
หรือของรัฐ (2) สหกรณ์เป็นลัทธิที่เชื่อว่าการร่วมมือกันทำาดีกว่าต่างคนต่างทำาหรือแข่งขันกัน (3) เป็น
โรงเรียนประชาธิปไตย และ (4) เป็นโรงเรียนสำาหรับการศึกษาผู้ใหญ่
2 3