Page 31 -
P. 31

ระดับความคิดเห็น ความพึงพอใจ

             2.6 กรอบแนวคิดในการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย.                      เกษตรกรอยู่ระหว่างการสงเคราะห์ และหลังรับการสงเคราะห์
                                                                                    1) ด้านกระบวนการทํางาน การให้บริการด้านต่างๆ ของ สกย. (ขั้นตอน ระยะเวลา ความถูกต้อง
                                                                                    เหมาะสม อุปกรณ์เครื่องมือทันสมัยในการให้บริการ)

                 บทบาท หน้าที่ ภารกิจของสํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทํา              2) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (ความสะดวก รวดเร็ว ดูแลเอาใจใส่ สุภาพ คําแนะนําเอกสาร

                 สวนยาง                                                             แนะนํา การมีความรู้)

                 1) การให้บริการด้านต่างๆ ของ สกย.                                  3) ด้านสิ่งอํานวยความสะดวก (สถานที่ให้บริการ)
                 2) การให้บริการในการสงเคราะห์การทําสวนยางแก่เกษตรกร                4) ด้านคุณภาพการให้บริการ การสงเคราะห์ การให้ความรู้ และการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์

                    (ขั้นตอน ระยะเวลา ความถูกต้องในการให้บริการ)                    ของเกษตรกรอยู่ระหว่างการสงเคราะห์ และหลังรับการสงเคราะห์ (ต่อตนเอง ต่อสังคมและ
                 3) การให้ความรู้ การอบรม ฝึกปฏิบัติ ศึกษาดูงานเกษตรกรอยู่          ชุมชน)
                 ระหว่างการสงเคราะห์ (5 ปีครึ่ง) และหลังการสงเคราะห์                5) ความต้องการ ข้อเสนอแนะ อื่นๆ

                 4) การทํางานร่วมกันของ สกย. และสถาบันเกษตรกร พ่อค้า                สถาบันเกษตรกร พ่อค้านักวิชาการและผู้เกี่ยวข้อง
                 (ตลาดยาง) นักวิชาการ ผู้เกี่ยวข้อง                                 1) ด้านการให้บริการ การทํางานร่วมกับ สกย.   ของสถาบันเกษตรกร พ่อค้า นักวิชาการ   โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                    ผู้เกี่ยวข้อง
                                                                                    2) ด้านตลาดยางของ สกย. เช่น การกําหนดหลักเกณฑ์ ไตรภาคี

                                                                                    3) ปัญหา และข้อเสนอแนะ อื่นๆ



                                                                          วิธีการศึกษา


                                 1. ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ สกย. บทบาท หน้าที่ ภารกิจ แผน ผล กระบวนงาน
                                 2. กําหนดประเด็น ตัวชี้วัดสร้างเครื่องมือ ทดสอบ เครื่องมือ

                                 3. เตรียมความพร้อม จัดทําแผนปฏิบัติงานในพื้นที่
                                 4. รวบรวมข้อมูลในพื้นที่ 5 จังหวัด จันทบุรี ชุมพร ระนอง ภูเก็ต สตูล
                                      - ใช้แบบสัมภาษณ์ Rubber 1-4

                                 5. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล
                                 6. สรุปการประเมินผล ประชาพิจารณ์ข้อมูล จัดทําข้อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงคุณภาพการบริการ


             รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย. ปี 2553                                                                                                  หน้า 25
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36