Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                        - งานนิติการ

                        2) ส่วนภูมิภาค ได้แก่ สํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยางจังหวัดและอําเภอ  มีหน้าที่ในการ

                 นํานโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่ให้เกิดประสิทธิผล  อย่างมีประสิทธิภาพ   ประกอบด้วย สํานักงานกองทุน

                 สงเคราะห์การทําสวนยางจังหวัด 44  แห่ง  สํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยางอําเภอ 51  แห่ง  ศูนย์
                 ปฏิบัติการสงเคราะห์สวนยางจังหวัด 13 แห่ง และศูนย์ผลิตพันธุ์ยาง 1 แห่ง โดยแต่ละหน่วยงานมีหน้าที่และ

                 ความรับผิดชอบดังนี้

                        - สํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยางจังหวัด มีหน้าที่และความรับผิดชอบ
                        (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการให้การสงเคราะห์การทําสวนยางในพื้นที่ความรับผิดชอบ

                        (2) รับผิดชอบในการส่งเสริมการเกษตรสวนยาง

                        (3) ดําเนินการจัดทําแผนงานประจําปี/โครงการต่างๆ และแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ของ
                        สํานักงานฯ จังหวัด

                        (4) ให้คําแนะนํา ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาการผลิตแก่เกษตรกรสวนยาง

                        (5) ส่งเสริมอาชีพเสริมแก่เกษตรกรสวนยาง

                        (6) ให้คําปรึกษา แนะนํา ควบคุม กํากับ ตรวจสอบ วิเคราะห์ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน
                        ของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดเกี่ยวกับการส่งเสริม การปลูกสวนยาง การพัฒนาการผลิตการตลาด

                        และโรงงานในเขตพื้นที่รับผิดชอบให้เป็นไปตามเป้าหมายและแผนงานที่กําหนดไว้

                        (7) ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน งบประมาณและพัสดุของสํานักงานฯ จังหวัด ตลอดจนให้คําปรึกษา
                        แนะนํา ควบคุม กํากับ ตรวจสอบ วิเคราะห์ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานดังกล่าวของ

                        หน่วยงานต่างๆ ในสังกัด

                        - สํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยางอําเภอ มีหน้าที่และความรับผิดชอบ

                        (1) ดําเนินการให้การสงเคราะห์การทําสวนยางในพื้นที่ความรับผิดชอบ
                        (2) ให้คําปรึกษาแนะนําทางวิชาการเกี่ยวกับการปลูกยาง

                        (3) รับผิดชอบเกี่ยวกับการพิจารณาการให้การสงเคราะห์

                        (4) ดําเนินการจัดกลุ่มตรวจสวนและตรวจสวนสงเคราะห์ตามระเบียบที่กําหนด
                        (5) จัดตั้งฟื้นฟูและดําเนินการกลุ่มพัฒนาเจ้าของสวนสงเคราะห์ให้สามารถพัฒนาช่วยเหลือตนเอง

                        เป็นสถาบันเกษตรกร และพัฒนาเข้าสู่ระบบสหกรณ์ กองทุนฯ สวนยาง

                        (6) ดําเนินการส่งเสริมการมีรายได้เสริม
                        (7) รับผิดชอบการดําเนินงานตลาดประมูลยางพาราระดับท้องถิ่น

                        (8) ดําเนินการส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพการผลิต

                        (9) รับผิดชอบบริหารการจัดการโรงอบ/รมยาง และโรงเรือนผลิตยางแผ่นคุณภาพดี







                 รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย. ปี 2553                                      หน้า 19
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30