Page 78 -
P. 78
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
65
ตารางที่ 4-9 (ตอ)
ขอมูล จํานวน (ราย) รอยละ
จํานวนแรงงานกรีดยาง
แรงงานในครัวเรือน
ไมมีแรงงานในครัวเรือน 48 10.19
มีแรงงานในครัวเรือน 423 89.81
1 - 3 ราย 366 (86.52)
4 - 6 ราย 52 (12.29)
มากกวา 6 รายขึ้นไป 5 (1.18)
รวม 471 100.00
Min = 1 ราย Max = 10 ราย ̅ = 2 ราย
แรงงานจากการจาง
ไมมีแรงงานจาง 371 78.77
มีแรงงานจาง 100 21.23
1 - 3 ราย (88) (88.00)
4 - 6 ราย (8) (8.00)
มากกวา 6 รายขึ้นไป (4) (4.00)
รวม 471 100.00
Min = 1 ราย Max = 10 ราย ̅ = 2 ราย
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ
การศึกษาเกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จํานวน 471
ราย ในดานของความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ พบวา
เกษตรกรมีความพึงพอใจมากที่สุดตอในการใหบริการของ สกย. (4.38 คะแนน) โดยเฉพาะดานการ
ใชวาจาสุภาพของพนักงาน สกย. รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุดในดานของการตรวจสอบสวนยาง
ระบบกลุม (4.09 คะแนน)
นอกจากนั้นจากการศึกษายังพบวา เกษตรกรมีความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด คือ
ดานตลาดยางพารา (3.76 คะแนน) โดยเกษตรกรมีความพึงพอใจตอความพอเพียงของจํานวนตลาด
ที่ใหบริการในระดับนอยที่สุด (3.65 คะแนน) รองลงมาดานการประชาสัมพันธขอมูลราคายาง
ประจําวัน (3.69 คะแนน) ดานความรวดเร็ว ความเปนธรรม ความโปรงใส การดูแลคุณภาพยาง
(3.70 คะแนน) ดานความรวดเร็ว ความถูกตอง ดานการเงิน (3.74 คะแนน) ดานราคายางพารา
ของตลาดยาง สกย . เมื่อเทียบกับราคายางในทองถิ่น (3.78 คะแนน) และดานประโยชนตลาด
ยางพาราในการดูแลของ สกย. (3.97 คะแนน) ดังตารางที่ 4-10