Page 80 -
P. 80

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       67



                            ตอนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะในการพัฒนาการใหบริการของ สกย.

                       ตารางที่ 4-11 ปญหาและขอเสนอแนะในการพัฒนาการใหบริการของ สกย. ของ
                                     เกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
                       ลําดับที่              ปญหา                               ขอเสนอแนะ
                          1.        ตลาดยางพารา
                                 - ราคายางพาราตกต่ําเมื่อเทียบกับที่ผานมา      - รัฐบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการ
                                 - ตลาดรองรับยางพาราภายใตการดูแลของ   ผลักดันใหราคายางพาราสูงขึ้นเพื่อสอดคลองกับ
                               สกย. มีจํานวนนอยไมครอบคลุมทุกพื้นที่   สถานการณดานคาครองชีพและตนทุนที่
                                 - พอคากดราคายาง                  เปลี่ยนแปลงไป
                                 - มีพอคาในตลาดประมูลยางนอยสงผลใหเกิด    - ควรเพิ่มจํานวนตลาดยางพาราภายใตการดูแล
                               การแขงขันดานราคานอย               ของ สกย. ใหเพียงพอตอความตองการของ
                                                                    เกษตรกร
                                                                      - ควรมีการจัดตั้งตลาดกลางเพื่อรับซื้อยางของ
                                                                    เกษตรกร โดย สกย.
                                                                      - รัฐบาลควรมีมาตรการประกันราคายางพารา
                                                                      - ควรมีการพัฒนามาตรฐานในการจําแนกยางกอน
                                                                    ถวยตามคุณภาพ เพื่อประโยชนของเกษตรกร
                                                                      - ควรมีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการตลาด
                                                                    ยางพาราภายใตความดูแลของ สกย. ใหมีความเปน
                                                                    มาตรฐาน และยั่งยืน
                          2.        การจัดตั้งกลุมเกษตรกร
                                 - กลุมไมเขมแข็ง เนื่องจากขาดประสบการณ    - ควรมีการถายทอดความรูในการบริหารจัดการ
                               ในการบริหารจัดการกลุม               กลุม และมีพี่เลี้ยงคอยใหคําปรึกษาอยางตอเนื่อง
                                 - สมาชิกในกลุมไมใหความรวมมือในการ    - ควรมีเจาหนาที่เปนผูผลักดันและประสานงานใน
                               ดําเนินกิจกรรมกลุม                  การขอจัดตั้งกลุมใหแกเกษตรกร
                                 - เกษตรกรไมเขารวมกลุม เนื่องจากไมเห็น    - ควรมีการประชาสัมพันธถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้น
                               ประโยชนจากการรวมกลุม               จากการรวมกลุม
                                 - ไมไดรับการสนับสนุนใหจัดตั้งกลุมอยางเปน
                               ทางการ
                          3.        การจัดอบรม ใหคําแนะนําทางวิชาการ
                                 - เกษตรกรไมไดเขารับการฝกอบรมอยางทั่วถึง    - ควรมีการจัดฝกอบรมซ้ําในหัวขอเดิมอยางนอย
                               เนื่องจากจํานวนรุนในการจัดฝกอบรมนอย    ปละ 2 ครั้ง
                               ไมเพียงพอตอความตองการ               - ควรจัดฝกอบรมเพื่อถายทอดความรู โดยเฉพาะ
                                 - จัดฝกอบรมนอยครั้ง สงผลใหไดรับความรูไม ดานการกรีดยางพาราและการบํารุงดูแลรักษาสวน
                               ตอเนื่อง                            ยางพาราใหแกเกษตรกร
                                 - ไมสามารถเขารวมการฝกอบรมได เนื่องจาก   - ควรเพิ่มความถี่ในการจัดฝกอบรม
                               มีการประชาสัมพันธขอมูลกระชั้นชิด เกษตรกร    - ควรเพิ่มเจาหนาที่ในระหวางการจัดฝกอบรม
                               เตรียมตัวไมทัน                      เพื่อใหสามารถดูแลเกษตรกรไดอยางทั่วถึง
                                 - ในระหวางการฝกอบรมมีเจาหนาที่นอย
                               สงผลใหไมสามารถดูแลเกษตรกรไดอยางทั่วถึง
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85