Page 113 -
P. 113
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-14
7. กรมป่าไม้ กรมที่ดิน และ ส.ป.ก. อาจจะก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการให้ราษฎรปลูกป่า
หรือไม้ยืนต้นตามความเหมาะสมในที่ดินที่ ส.ป.ก. ออกเอกสาร ส.ป.ก. 4-01 ก่อนส่งเอกสารดังกล่าว ให้กรมที่ดิน
ออกเอกสารสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
8. ให้มีคณะกรรมการติดตามผลการปฎิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีนี้ ซึ่งนายกรัฐมนตรี
จะแต่งตั้งประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีประจ าเขตท้องที่ ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
ประจ าเขตท้องที่ และผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประจ าเขตท้องที่
ทั้งนี้ ได้มีการยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี รวม 6 ฉบับ คือ
“1. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2533 เรื่องโครงการส ารวจสถานที่
ราชการ บ้านเรือนราษฎร และถนนที่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติและพื้นที่จ าแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร
2. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2535 เรื่องโครงการส ารวจสถานที่
ราชการ บ้านเรือน ที่ดินท ากินของราษฎร และถนนที่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติในพื้นที่ที่จ าแนกให้เป็น
เขตป่าไม้ถาวร และเขตที่สาธารณประโยชน์
3. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2527 เรื่องร่างพระราชบัญญัติ
ป่าสงวนแห่งชาติ (ฉบับที่ …) พ.ศ…
4. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2528 เรื่องการช่วยเหลือราษฎรตาม
โครงการเพิกถอนสภาพป่าที่เป็นที่ตั้งชุมชน
5. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2532 เรื่องการด าเนินงานตามโครงการ
เพิกถอนสภาพป่าที่เป็นที่ตั้งชุมชนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2527
6. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2532 เรื่องการช่วยเหลือราษฎรที่เข้า
ไปท ากินหรืออยู่อาศัยในป่าสงวนแห่งชาติโดยผิดกฏหมาย”
ผลจากมติคณะรัฐมนตรีฉบับนี้ มีผลให้กรมป่าไม้ส่งมอบพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติให้แก่ส านักงาน
ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวม 45 ล้านไร่ (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2555: 170)
ตุลาคม 2534 มีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (2535-2539)
มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการปฏิรูปที่ดิน ในบทที่ 4 (ส่วนที่ 4) เรื่องการบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
โดยก าหนดเป้าหมายไว้ ในหน้า 230, 233 ดังนี้
“2.1 ทรัพยากรที่ดิน
2.1.1 เร่งรัดการปฏิรูปที่ดินในพื้นที่ 30 ล้านไร่ ให้แล้วเสร็จภายใน 7 ปี
ในด้านแนวทางการพัฒนาและมาตรการบริหารได้ก าหนดไว้ ดังนี้
“3.2 แนวทางและมาตรการเฉพาะด้าน
3.1.1 ทรัพยากรที่ดิน
1 ) เร่งรัดแก้ปัญหากรรมสิทธิ์ที่ดิน โดย
1.1 ปรับปรุงระบบการบริหาร และการจัดการในด้านการ
ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เพื่อให้การด าเนินงานที่มีความคล่องตัวมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่