Page 84 -
P. 84

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      12-29



                           วันที่ 8 มิถุนายน 2542  คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบาย
                   เศรษฐกิจ (คศก.) คือ เห็นชอบในหลักการยุทธศาสตร์พืชหลัก ตามที่กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงเกษตร

                   และสหกรณ์เสนอ โดยให้เปลี่ยนชื่อเป็น  "ยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรหลัก"  และมอบหมายให้คณะกรรมการ

                   หรือองค์กรที่ดูแลสินค้าเกษตรแต่ละชนิด รับไปพิจารณาในรายละเอียด แล้วรายงานผลให้ คศก. ทราบ โดย
                   ให้รับความเห็นของ คศก. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง (เกี่ยวกับการพิจารณาเรื่องที่ยังมีข้อโต้แย้งกันหรือเรื่องที่ต้องมี

                   การตัดสินใจ ตลอดจนการก าหนดยุทธศาสตร์ในระยะยาว การให้ความส าคัญในเรื่องการพยายามลดการกีด
                   กันทางการค้าในต่างประเทศ         การให้ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

                   กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้มีส่วนร่วมสนับสนุนในการผลิตและการแปรรูป รวมทั้ง

                   การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก) ไปพิจารณาด้วย และให้กระทรวงเกษตรฯ
                   รับความเห็นของ คศก.  (เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรทราบล่วงหน้าในส่วนของมาตรการ

                   ช่วยเหลือว่าบางมาตรการไม่สามารถกระท าได้เนื่องจากข้อผูกพันทางการค้า WTO ที่ไทยจะต้องจ ากัดการ

                   อุดหนุนการผลิตสินค้าเกษตรภายในประเทศ) ไปพิจารณาด าเนินการต่อไป
                           วันที่ 6 กรกฎาคม 2542  คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ด าเนินการ

                   จัดตั้ง "ศูนย์ผลักดันสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก" ขึ้นตรงกับกรมวิชาการเกษตร โดยใช้งบประมาณปกติที่มี

                   อยู่ และให้แต่งตั้งข้าราชการศูนย์ผลักดันสินค้าเกษตรฯ โดยเกลี่ยอัตราก าลังเดิมจากหน่วยงานในสังกัดกรม
                   วิชาการเกษตร จ านวน 69 อัตรา ประกอบด้วย ระดับ 8 ในต าแหน่งผู้อ านวยการ จ านวน 1 อัตรา ระดับ 7

                   ในต าแหน่งรองผู้อ านวยการและ หัวหน้าฝ่าย จ านวน 7 อัตรา และระดับต่ ากว่าระดับ 7 จ านวน 61 อัตรา
                   โดยมีองค์ประกอบและอ านาจหน้าที่ ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ  และให้รับความเห็นของ

                   กระทรวงอุตสาหกรรม (เกี่ยวกับการประเมินผลการด าเนินงานของศูนย์ผลักดันสินค้าเกษตรฯ ว่า สามารถ

                   สนับสนุนให้เกิดการส่งออกสินค้าเกษตร 4 ชนิด คือ ยางพารา ล าไย ทุเรียน และกล้วยไม้ในระดับใด การ
                   ส่งเสริมและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์  การก าหนดและตรวจสอบคุณภาพสินค้าให้ตรงตาม

                   มาตรฐานสากล และการจัดการด้านเงินลงทุนให้กับผู้ประกอบการเพื่อสนับสนุนการส่งออกให้เพิ่มมากขึ้น)
                   ไปด าเนินการด้วย  ส าหรับรายละเอียดโครงสร้างขององค์กรและอัตราก าลังควรเป็นไปตามความเห็นของ

                   ส านักงาน  ก.พ. (โดยเป็นหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อกรมวิชาการเกษตร  ซึ่งควรก าหนดเป็นค าสั่งกรมวิชาการ

                   เกษตร ก าหนดอ านาจหน้าที่  และมอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติงานในศูนย์ผลักดันสินค้าเกษตรฯ ไปก่อน
                   โดยไม่ต้องก าหนดเป็นพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราช การใหม่ในขณะนี้)

                           วันที่ 20 กรกฎาคม 2542  คณะรัฐมนตรีมีมติเกี่ยวกับเรื่อง  การแก้ไขปัญหาความยากจนและการให้ความ

                   ช่วยเหลือทางการเงินแก่เกษตรกร และผู้ใช้แรงงาน  โดยให้กระทรวงการคลังรับไปพิจารณาขอบเขตวัตถุประสงค์ของ
                   ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร  (ธ.ก.ส. ) ตามพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

                   การเกษตร พ.ศ. 2509  และที่แก้ไขเพิ่มเติม  ว่าจะครอบคลุมและสามารถช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ใช้แรงงานที่ไป
                   ประกอบอาชีพในต่างประเทศได้หรือไม่  เพียงใด หรือมีแนวทางในการช่วยเหลือที่เหมาะสมอย่างใด แล้วเสนอ

                   คณะรัฐมนตรีต่อไป  และให้ประสานกับ ธ.ก.ส. ในเรื่องเกี่ยวกับการพิจารณาการให้กู้เงินของ ธ.ก.ส.  เพื่อช่วยเหลือ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89