Page 82 -
P. 82

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      12-27



                   ตามพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามข้อตกลงขององค์การการค้าโลก  (WTO)  การก าหนดให้ชัดเจนว่า
                   โรงงานน้ าตาลโรงงานใดจะรับซื้ออ้อยจากชาวไร่อ้อยรายใด และเร่งรัดด าเนินการเกี่ยวกับการที่สาธารณรัฐ

                   ประชาชนจีนแสดงความประสงค์ที่จะรับซื้อข้าวและยางพาราจากไทย) ไปพิจารณาด าเนินการต่อไป

                           วันที่ 11 พฤษภาคม 2542  คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้ขยายเวลาการแทรกแซงตลาดยางพารา
                   ต่อไปได้ ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ และให้คงคณะกรรมการเพื่อติดตามผล และแนะน าการเพิ่ม

                   ประสิทธิภาพของการด าเนินการตามโครงการแทรกแซงที่แต่งตั้งตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
                   22 ธันวาคม 2541 ตามโครงการนี้ต่อไป และให้เร่งรัดด าเนินการในเรื่อง งบประมาณชดเชยผลการขาดทุนและ

                   ดอกเบี้ยที่เกิดจากการด าเนินงานตามโครงการฯ ตั้งแต่ปี 2539 - 2540 จ านวนประมาณ 388 ล้านบาท ส่งให้

                   ส านักงานตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบและรับรอง และให้กระทรวงเกษตรฯ  รับข้อสังเกตของคณะรัฐมนตรี
                   (เกี่ยวกับการเช่าโกดังและร่วมลงทุนกับเอกชนในการด าเนินการต่างๆ ของรัฐมากขึ้น  รวมทั้งพิจารณาศึกษา

                   ภาวะตลาดอย่างใกล้ชิดว่าสมควรที่จะแนะน าให้เกษตรกรประกอบอาชีพสวนยางอยู่อีกหรือไม่เพียงใด

                   เนื่องจากปัจจุบันราคายางในตลาดโลกยังมีราคาต่ า ไม่คุ้มค่ากับการผลิตและจ าหน่าย) ไปพิจารณาด้วย
                           วันที่ 18 พฤษภาคม 2542 คณะรัฐมนตรีอนุมัติแผนเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิรูปที่ดิน  ระยะที่ 2

                   (2540-2544)  ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ โดยให้รับข้อสังเกตของกระทรวงการคลัง และ

                   ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปด าเนินการด้วย ดังนี้
                                  1.  อนุมัติให้ด าเนินงานตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิรูปที่ดิน ระยะที่ 2  (2540  -

                   2544)  ในรูปกองทุนที่ดินต่อไป โดยใช้แนวทางการด าเนินงานเป็นการด าเนินงานเพื่อป้องกันและแก้ไข
                   ปัญหาทางสังคม ซึ่งหากสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาได้ จะส่งผลถึงการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจโดยรวมให้

                   ดีขึ้น โดยมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้

                                         1) ด าเนินการในรูปของกองทุนที่ดินต่อไปโดย ส.ป.ก. และ ธ.ก.ส. ร่วมกันรับผิดชอบ
                                         2)  ระยะเวลาด าเนินงาน 5  ปี โดยให้มีการประเมินผลเมื่อครบระยะเวลา 5  ปี

                   หากพิจารณาว่ามีความเหมาะสมและเป็นไปตามเป้าหมายจึงจะมีการพิจารณาด าเนินการต่อไป หากผลการ
                   ประเมินระบุว่าไม่มีความเหมาะสม อาจจะต้องยุติโครงการ โดยคณะกรรมการกองทุนที่ดินจะพิจารณา

                   ด าเนินการเกี่ยวกับเรื่องทรัพย์สินและหนี้สินของกองทุนที่ดินต่อไป

                                         3)  การด าเนินงานจะยึดหลักการไม่ของบประมาณ แต่ใช้เงินคงเหลือจ านวน
                   712.94  ล้านบาท ให้พอเพียง โดยจะไม่จัดซื้อที่ดินใหม่ เว้นแต่มีความจ าเป็นและเหมาะสม และจะพัฒนา

                   ที่ดินคงเหลือจ านวน 7,158 ไร่ แล้วจัดให้แก่เกษตรกร รวมทั้งให้สินเชื่อแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเดิม

                   เพื่อลงทุนท าการเกษตรต่อไป
                                         4) เป้าหมาย ในระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่ปี 2540 - 2544 จะจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร

                   จ านวน 715 ราย ในที่ดินคงเหลือเนื้อที่ 7,158 ไร่ และที่ดินที่ซื้อตามความจ าเป็นในปี 2540 และ 2541 อีก
                   636  ไร่ รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงโครงการเดิมที่จ่ายเงินกู้ให้แก่เกษตรกรไปแล้ว 2,624  ราย ในที่ดินเนื้อที่

                   29,274 ไร่
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87