Page 150 -
P. 150
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
13-29
เกษตรกรเพาะปลูกเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม มีระบบและแนวทางที่ชัดเจน โดยจะคัดเลือกสายพันธุ์
ยางพาราที่ดีให้ผลผลิตสูง มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด
วันที่ 6 พฤษภาคม 2546 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
รายงานผลการพิจารณาศึกษาปัญหาราคาเส้นไหมตกต่ า ของคณะกรรมาธิการการพาณิชย์ สภา
ผู้แทนราษฎร และมอบให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องรับไปพิจารณาด าเนินการ แล้วแจ้งให้ส านักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีทราบ เพื่อน าเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไปโดยผลการพิจารณาปัญหาราคาเส้นไหมตกต่ าเกิดจาก
ปัญหาไหมลักลอบที่เข้ามาตีราคาไหมไทย โดยเฉพาะในบริเวณชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คณะกรรมาธิการฯ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่าแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวสามารถแบ่งออกได้เป็น
3 ระยะ คือ (1) ระยะสั้น รัฐบาลควรหามาตรการต่างๆ เพื่อให้โรงสาวไหมรับซื้อรังไหมจากเกษตรกรใน
ราคาขั้นต่ า กิโลกรัมละ 85 บาท (2) ระยะกลาง รัฐบาลต้องหามาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันและปราบปราม
ตลอดจนด าเนินคดีกับผู้น าเข้าไหมลักลอบอย่างจริงจัง ด าเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ไหมไทยให้เป็นที่ยอมรับของชาวต่างชาติ และยกเลิกการซื้อไหมแบบระบบสัดส่วน และน า
มาตรการศุลกากรมาใช้ในเรื่องเกี่ยวกับการจัดเก็บอากรขาเข้าร้อยละ 5 ของการน าเข้าสินค้าท านอง
เดียวกับข้อตกลงพันธกรณีของ (AFTA) และ (3) ระยะยาว รัฐบาลควรส่งเสริมสนับสนุนการผลิต
วันที่ 19 พฤษภาคม 2546 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเสนอ
การปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2541 เรื่อง มาตรการป้องกันและปราบปรามการ
ลักลอบน าเข้าสินค้าเกษตร โดยเห็นชอบตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ซึ่งขอยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี
ในส่วนที่ให้น าของกลางมาจ าหน่ายและเพื่อไม่ให้สินค้าเวียนกลับเข้ามาจ าหน่ายในท้องตลาดได้อีก ควรให้
กรมศุลกากรน ามาจ าหน่ายให้องค์การคลังสินค้าเพื่อจัดจ าหน่ายให้กับส่วนราชการ และองค์การ
สาธารณประโยชน์ต่างๆ หรือวิธีการอื่นที่เหมาะสม ทั้งนี้ ให้สามารถจ าหน่ายของกลางได้ทันที เพื่อไม่ให้เป็น
ภาระในการเก็บรักษาและเกิดการสูญเสียน้ าหนักในระหว่างที่คดียังไม่สิ้นสุด และให้ด าเนินการตามมติการ
ประชุมคณะอนุกรรมการการจัดการผลิตและการตลาดกระเทียมหอมแดง หอมหัวใหญ่ และมันฝรั่ง ครั้งที่
3/2541 วันพุธที่ 7 ตุลาคม 2541 ซึ่งมีมติให้กรมศุลกากรด าเนินการจ าหน่ายของกลางที่จับกุมได้ทันที ทั้งนี้
กระทรวงการคลัง (กรมศุลกากร) จะต้องมีมาตรการป้องกันมิให้ของกลางที่จ าหน่ายกลับเข้ามาหมุนเวียนใน
ท้องตลาดได้อีกเพื่อมิให้ส่งผลกระทบถึงเกษตรกรผู้ผลิตภายในประเทศ
วันที่ 26 พฤษภาคม 2546 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอ
คณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 ที่มีมติดังนี้ (1) เห็นชอบให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2533
เฉพาะเรื่องสวนยางที่อยู่ในป่าสงวนแห่งชาติ และให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมป่าไม้) ก าหนด
เงื่อนไขและหลักเกณฑ์การอนุญาตเข้าท าประโยชน์เฉพาะสวนยาง โดยมอบให้กระทรวงเกษตร ฯ ร่วมกับ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น าเสนอเรื่องดังกล่าวเข้าที่ประชุมคณะท างานที่ท าหน้าที่
ศึกษาพิจารณามาตรการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการปลูกสร้างสวนป่าภาคเอกชนที่อยู่ภายใต้
คณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ หากคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรการฯ เห็นชอบ ก็ควรก าหนดการ