Page 169 -
P. 169
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
Global G.A.P. ThaiGAP Q GAP
ปุ๋ ยคงเหลือ และมีการจัดเก็บปุ๋ ยในสถานที่
เหมาะสม โดยไม่เก็บปุ๋ ย/สารเคมีรวมกับผลผลิต
และภาชนะบรรจุผลลผิต ห้ามใช้สิ่งขับถ่ายจาก
คนเป็นธาตุอาหารพืช กรณีมูลสัตว์และเศษเหลือ
จากการเกษตรหรืออุตสาหกรรมเกษตร ต้อง
ได้รับการบําบัดหรือผ่านกระบวนการหมักก่อน
นํามาใช้เพื่อไม่ให้เกิดพิษอันเนื่องมาจากจุลชีพ
ก่อโรคกับผู้บริโภค หรือมีผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัย เพื่อความแน่นอน ควรมีการส่งดินตรวจ
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้ทราบสมบัติธาตุ
อาหารพืชในดินและวิเคราะห์พืชที่ปลูกเพื่อการ
จัดการธาตุอาหารให้ตรงกับความต้องการของ
พืชต่อไป
7. การให้นํ้า/ให้ปุ ๋ ยพร้อมนํ้า 7. ระบบการจัดการนํ้า ไม่มีการกํากนด
คุณภาพของนํ้าที่ใช้ ใช้นํ้าสะอาดอย่างมีเหตุผลใช้อย่างประหยัดให้
ไม่นํานํ้าจากสิ่งขับถ่ายของมนุษย์ที่ยังไม่ได้รับการ เกิดประโยชน์สูงสุดขึ้นอยู่กับความต้องการของ
บําบัดมาใช้สําหรับการให้นํ้า/ให้ปุ๋ ยพร้อมนํ้า นํ้าจากสิ่ง พืช ระยะการเจริยเติบโต สภาพแวดล้อมของ
ปฏิกูลนั้นนําไปใช้ที่ไหน และคุณภาพของนํ้าต้องเป็นไป ความชื้นในดิน และบรรยากาศ กรณีนี้สามารถ
ตาม ประเมินปริมาณนํ้าใช้แต่ละฤดูกาลด้วยข้อมูล
แนวทางการปฏิบัติขององค์การอนามัยโลก (WHO) ทางด้านอุตุวิทยาร่วมด้วยก็จะช่วยในการจัดการ
สําหรับ ความปลอดภัยของการใช้นํ้าเสีย และของเสียที่ ระบบการให้นํ้าดีขึ้น เช่น ระบบนํ้าหยด ไม่ควร
ร่างกายออกมาในการเกษตรและประมง ใช้นํ้าเสีย กรณีต้องใช้นํ้าไม่สะอาด ต้องมีการ
บําบัดก่อนใช้ เช่น ระบบการทําบ่อพักเพื่อลด
การปนเปื้อน นํ้าที่ใช้ต้องมีความเหมาะสมกับ
การเพาะปลูกและมีเพียงพอกับความต้องการ
ของพืช กรณีต้องผสมสารเคมีควรใช้นํ้าที่อาจ
สะอาด การตรวจสอบนํ้าจะทําให้เกิดความ
มั่นใจ เช่น นํ้าบาดาลมีความกระด้างมาก อาจ
หยดกรดเพื่อปรับคุณภาพนํ้าก่อนผสมสารเคมี
ในแต่ละปีจึงควรสุ่มตรวจคุณภาพนํ้า ส่วนใหญ่
นํ้าที่มาจากคลองชลประทานหลักถือว่าเป็นนํ้าที่
สะอาด นํ้าที่มาจากคลองธรรมชาติจะต้องดู
แหล่งที่มา ในเรื่องความเสี่ยงต่อการปนเปื้อน
ของจุลินทรีย์และสารพิษ ลักษณะของนํ้าเสียนั้น
ดูได้จาก สี กลิ่นที่เปลียนแปลงอย่างชัดเจน จึง
ต้องมีการประเมินของนํ้า พร้อมกับเก็บรักษา
บันทึกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง