Page 173 -
P. 173
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
Global G.A.P. ThaiGAP Q GAP
บํารุงรักษา และมีเอกสาร ที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์
ความเสี่ยงด้านสุขอนามัยของการเก็บเกี่ยว
5. พาหนะที่ใช้ในฟาร์มสําหรับขนส่งผลผลิตที่เก็บเกี่ยวแล้ว
มีการใช้สําหรับวัตถุประสงค์ใดนอกเหนือ
จากการขนส่งผลผลิตที่เก็บเกี่ยว มีการทําความสะอาด และ
บํารุงรักษา และตารางการทําความสะอาด เพื่อป้องกันการ
ปนเปื้อนในพื้นที่ ( ดิน , ฝุ่น, ปุ๋ ยอินทรีย์, เศษไม้ ฯลฯ)
สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสุขอนามัยของ
การเก็บเกี่ยว
6. มีที่ล้างมือแบบถาวร หรืออุปกรณ์ล้างมือแบบเคลื่อนที่ที่
สามารถใช้ได้ เพื่อคนงานที่ทําการเก็บเกี่ยวภายในระยะ
อย่างน้อย 500 เมตร และอยู่ในสภาพที่ดีด้านสุขอนามัย
10. การจัดการผลผลิต 10. หลังการเก็บเกี่ยว 4. การเก็บรักษา
สุขอนามัย ความเหมาะสมของกระบวนการจัดการในการ และการขนย้าย
1. มีการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน (การเซ็นต์เข้าร่วม , เก็บเกี่ยวผลผลิตต้องสะอาดปลอดภัยจากการ ผลิตผลในแปลง
ใบรับรองจากภายนอก) พนักงานได้รับการแนะนําที่ ปนเปื้อนอีก ห้ามใช้สารเคมีทุกประเภทในระยะ 4.1 สถานที่เก็บ
สามารถเข้าใจได้ด้วยวาจา และเป็นเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับ หลังการเก็บเกี่ยวต้องใช้อย่างที่จําเป็น จะต้องใช้ รักษาต้องสะอาด
การจัดการสุขอนามัยของผลิตภัณฑ์ รวมทั้ง ความสะอาด สารเคมีที่อนุญาตให้ใช้ได้เท่านั้น และมีการ อากาศถ่ายเทได้ดี
ส่วนบุคคล เช่น การล้างมือ, การสวมเครื่องประดับ และ บันทึกชื่อสารเคมีและปริมาณที่ใช้ นํ้าที่ใช้ล้าง และสามารถ
ความยาวและความสะอาดของเล็บ เป็นต้น – ความสะอาด ผลผลิตต้องเป็นนํ้าที่สะอาดระดับนํ้าดื่ม ควรมี ป้องกันการ
ของเสื้อผ้า, ความประพฤติส่วนตัว เช่น ไม่สูบบุหรี่ , ไม่ การตรวจสอบคุณภาพนํ้า โดยทั่วไปเกษตรกร ปนเปื้อนของวัตถุ
บ้วนนํ้าลาย, ไม่รับประทานอาหาร, ไม่เคี้ยวหมากฝรั่ง, ไม่ มักใช้นํ้าประปาหมู่บ้านซึ่งส่วนใหญ่พักนํ้าไว้ แปลก
ใส่นํ้าหอม ฯลฯ)เว้นแต่จากการแจ้งที่มีอยู่กับการจัดการ เท่านั้นไม่ผ่านการบําบัด บางกรณีอาจใส่คลอรีน 7. การจัดการ
ผลผลิต สําหรับแต่ละผลิตผลที่ขึ้นทะเบียน เพื่อทําการฆ่าเชื้อก่อนได้ บริเวณตัดแต่ง บรรจุ กระบวนการผลิต
การล้างหลังการเก็บเกี่ยว และจัดเก็บผลผลิตจะต้องมีการระวังและควบคุม เพื่อให้ได้ผลิตผล
1. อย่างน้อยภายใน 12 เดือนต้องมีการวิเคราะห์นํ้าซึ่ง พาหะนําโรค และบริเวณดังกล่าวต้องอยู่ห่างจาก คุณภาพ
เป็นไปตามจุดเข้าสู่เครื่องซักล้าง ระดับของค่าที่วิเคราะห์ที่ แหล่งเก็บสารเคมีหรือปุ๋ ยเคมี 7.1. การปฏิบัติและ
ยอมรับได้อยู่ภายใต้มาตรฐาน WHO หรือความปลอดภัยที่ การจัดการตามแผน
ยอมรับได้สําหรับอุตสาหกรรมอาหารจากผู้ที่มี ควบคุมการผลิต
ความสามารถ 7.2. คัดแยกผลผลิต
2. ที่ที่มีการนํานํ้าล้างผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายกลับมาผ่าน ด้อยคุณภาพไว้
กระบวนการใหม่, จะต้องกรองและฆ่าเชื้อ และตรวจ pH, ต่างหาก
ความเข้มข้นและระดับของสารฆ่าเชื้อมีกาตรวจติดตาม
อย่างสมํ่าเสมอ,เอกสารบันทึกการบํารุงรักษา ตัวกรองต้อง
มีระบบที่ใช้