Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




            3.  การใช้ที่ให้น�้าแบบนิปเปิล จะช่วยป้องกันการปนเปื้อนของน�้าจาก อี. โคไล ภายในโรงเรือนไก่ได้
            4.  การระบายอากาศที่ดี จะช่วยลด อี. โคไล ในฝุ่นละอองและในสิ่งแวดล้อมลงได้ ช่วยลดความชื้นในโรงเรือน
               และลดแอมโมเนียในสิ่งแวดล้อมลงด้วย
            5.  การเริ่มรักษาเร็ว ตั้งแต่อาการเริ่มแรกของโรคจะรักษาให้หายได้ง่าย แต่ถ้าเป็นเรื้อรังจะรักษาให้หายได้ยาก
            6.  ใช้ยาให้ครบโด๊ส เพราะว่าการใช้ยาในระดับที่ต�่าเกินไป ท�าให้การรักษาไม่ได้ผล และก่อให้เกิดปัญหา
               เชื้อโรคต้านยาตามมา
            7.  ไก่ที่มีอาการมากควรแยกออกจากฝูงเพื่อรักษาต่างหาก


                                                 โรคติดเชื้อมัยโคพลำสม่ำ
            ลักษณะทั่วไปของโรค
            1.  เป็นโรคระบบทางเดินหายใจ ซึ่งมักเป็นแบบเรื้อรัง และมีสภาพถุงลมอักเสบ
            2.  ไก่อาจไม่แสดงอาการป่วยใดๆ จนกว่าไก่จะอยู่ในภาวะอ่อนแอ มีความเครียดหรือได้รับเชื้อแบคทีเรีย
               เช่น อี. โคไล หรือเชื้อหวัดหน้าบวม
            3.  ไก่กินน�้าและอาหารลดลง ท�าให้ไข่ฟองเล็กลง
            4.  ถ้ากรณีเชื้อหวัดหน้าบวมเข้าแทรกซ้อนไก่จะมีอาการไอ จาม มีน�้ามูกและมีอาการบวมที่บริเวณไซนัส
            กำรป้องกันและรักษำ
            1.  ในฟาร์มไก่ที่เคยเกิดโรคนี้ในรุ่นที่ผ่านมาต้องเข้มงวดในการล้างท�าความสะอาดโรงเรือน พ่นน�้ายา
               ราดโซดาไฟและพักโรงเรือน
            2.  เลี้ยงไก่ที่อายุเดียวกันทั้งฟาร์ม โดยใช้ระบบเข้า-ออก พร้อมกัน (all in- all out)
            3.  ลดความร้อนและก๊าสแอมโมเนีย โดยการระบายอากาศในโรงเรือนที่ดี
            4.  เมื่อมีไก่ป่วยให้แยกไก่ป่วยเพื่อรักษาต่างหาก โดยต้องให้ยาครบตามจ�านวนตามใบก�ากับยา
            5.  ล้างรางน�้าวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) และใช้ผ้าชุบน�้าที่ผสมน�้ายาฆ่าเชื้อ แล้วเช็ดรางน�้า จะช่วยลดปริมาณ
               ของเชื้อลง
            6.  ไก่ที่แยกออกมารักษาไม่ควรย้ายขึ้นกรงรวมกับฝูง จนกว่าจะแน่ใจว่าอาการป่วยหายดีแล้ว




                    โปรแกรมกำรให้วัคซีนป้องกันโรค


                   การจัดโปรแกรมการท�าวัคซีนป้องกันโรคไก่ ต้องค�านึงถึงปัจจัยหลายอย่าง เช่น สภาวะการ
            แพร่ระบาดของโรคในแต่ละท้องที่ สภาพของฟาร์ม พันธุ์ไก่ และสภาพแวดล้อมทั่วไป การเลือกใช้ชนิดของ
            วัคซีนที่เหมาะสม การตรวจสอบระดับของภูมิคุ้มกันในกระแสโลหิต โปรแกรมการท�าวัคซีน ของไก่ไข่โครงการ
            วิจัยนี้ จะเลือกใช้เฉพาะวัคซีนที่ผลิตในประเทศ โดยกรมปศุสัตว์เป็นหลักใหญ่ วัคซีนนอกจะใช้เฉพาะวัคซีน
            ป้องกันโรคมาเรกซ์เท่านั้น โปรแกรมในรายละเอียด ท�าตามค�าแนะน�าของกรมปศุสัตว์ ดังตารางที่ 4





                                                  กำรเลี้ยงไก่ไข่ไทย กรมปศุสัตว์ 29
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36