Page 72 -
P. 72
ิ
์
ิ
ิ
ิ
ั
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
ื
่
บทบัญญัติข้างต้น มาจากผลทางกฎหมายทีว่า ผู้จ านาได้นาตั๋วไปจ านาให้กับผู้รับจ านา ท าให้
็
ผู้รับจ านามีสิทธิเรียกเก็บเงินได้ และเงินที่จะได้รับก็เปนของผู้รับจ านาเอง เพราะเปนการบังคับจ านา
็
้
้
ดังนั้น หากลูกหนีตามตั๋วเงินทีถูกไล่เบียจะยกข้อต่อสู้มาปฏิเสธความรับผิด ลูกหนีก็ต้องยกข้อต่อสู้ที่มี
้
่
่
ต่อผู้รับจ านา ไม่ใช่ข้อต่อสู้ทีมีต่อผู้จ านา เช่น
้
ี่
จากตัวอย่ำงท 4.5 เมื่อนายอู๊ดนาตั๋วแลกเงินไปจ านาไว้กับนางสาวมินเพือยืมเงิน 18,000 บาท
่
่
็
โดยระบุว่า “ราคาเปนจ านา” หากนางสาวมิ้นนาตั๋วไปเรียกเก็บเงินจากนายนิยม นายนิยมไมสามารถ
้
็
็
้
ต่อสู้ว่า ตนเองก็เปนเจ้าหนีนายอู๊ดอยู 20,000 บาทเพื่อขอหักกลับลบหนีได้ เพราะข้อต่อสู้นีเปนข้อต่อสู้
่
้
่
ทีมีระหว่างตน (นายนิยม) กับ นายอู๊ด (ผู้สลักหลัง)
่
อย่างไรก็ตามมาตรา 926 วรรคสองมีข้อยกเว้นว่า จะไมบังคับในกรณีที่มีการสลักหลังโดยการ
้
คบคิดกันฉอฉล เช่น
้
่
ตัวอย่ำงท 4.6 วันที 1 กุมภาพันธ์ 2565 นางสาวสมร ออกตั๋วแลกเงิน เพื่อช าระหนีให้กับนาย
ี่
ี
้
่
็
่
ึ
อู๊ด 20,000 บาท ซงเปนกำรช ำระหน ยำเสพติด โดยสั่งให้นายนิยมลูกหนีของนางสาวสมรเปนผู้จาย
็
้
โดยตั๋วนีจะถึงก าหนดวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 ก่อนตั๋วจะถึงก าหนด นายอู๊ดนาตั๋วแลกเงินฉบับนีไป
้
้
่
้
็
จ านาไว้กับ นางสาวมิน เพือยืมเงิน 18,000 บาท โดยนายอู๊ดได้ระบุว่า “ราคาเปนจ านา” และมี
่
้
ี
ี
่
้
่
้
ข้อเท็จจริงว่า นำงสำวมิ้นรูวำ ตั๋วแลกเงินฉบับนมำจำกกำรสั่งจำยหนยำเสพติด เมือตั๋วแลกเงินถึง
้
ก าหนด นางสาวมินสามารถบังคับจ านาได้เอง โดยไปเรียกเก็บเงินจากนายนิยม แต่นายนิยมปฏิเสธการ
ี
้
จ่ายเงิน นางสาวมินจึงไปท าค าคัดค้านเพือใช้สิทธิไล่เบี้ยนางสมร กรณีนจะเห็นได้ว่า นางสาวมินใช้สิทธิ
่
้
้
ในฐานะผู้รับจ านาในการไล่เบี้ยนางสาวสมร ข้อต่อสู้ทีนางสาวสมรจะยกขึนมาปฏิเสธความรับผิดได้ ต้อง
้
่
้
้
่
็
้
เปนข้อต่อสู้ทีมีต่อผู้รับจ านาโดยตรง แต่กรณีนี นางสาวมินในฐานะผู้รับจ านาได้คบคิดกันฉอฉลกับนาย
้
่
้
็
อู๊ด เพราะนางสาวมินไมสุจริต กรณีเช่นนี นางสาวสมรสามารถปฏิเสธความรับผิดได้ เพราะเปนกรณีที ่
89
ผู้รับจ านาคบคิดกันฉอฉล
้
ี
4.7 กำรขดฆำค ำสลักหลัง
่
นอกจาก การสลักหลังรูปแบบต่างๆ ทีได้กล่าวไปข้างต้น กฎหมายยังรับรองว่า ผู้ทรงสำมำรถ
่
้
ี
่
ขดฆำค ำสลักหลังได ตามทีได้บัญญัติไว้ในมาตรา 905 วรรคหนึงตอนท้ายว่า “อนึ่ง ค าสลักหลังเมื่อขีด
่
่
ฆ่าแล้ว ท่านให้ถือเสมือนว่ามิได้มีเลย” ดังนั้น หากมีการสลักหลังแล้ว แต่มีการขีดฆ่าค าสลักหลังนั้นทิง
้
่
้
่
ไปย่อมถือว่า ไมมีการสลักหลังรายนั้น ทั้งนี บุคคลทีจะขีดฆ่าค าสลักหลังได้ต้องเปนบุคคลทีมีสิทธิโดย
็
่
ชอบในการขีดฆ่า ซึงก็คือ ผู้ทรง และบุคคลทีถูกไล่เบียหรือจะถูกไล่เบียได้ใช้เงินไป
่
้
้
่
89 ในประเด็นเรื่องการคบคิดกันฉ้อฉล จะอธิบายรายละเอียดในหัวข้อ 5.3
71
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์