Page 11 -
P. 11
ั
ิ
ิ
ุ
ิ
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ิ
บทที่ 2
ผลงานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ึ
การศึกษาวิจัยการพัฒนาสื่อหนังสือแนะแนวการศกษาอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ึ
จาก Hard copy To Electronic book (E-book) : การศึกษาเรื่องความพงพอใจของผู้ใช้และผลกระทบครั้งนี้
ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง จากเอกสาร ตำรา รายงาน บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
- แนวความคิดเรื่องสื่อประชาสัมพันธ์
- แนวความคิดเรื่องการสื่อสาร
- แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- เอกสารที่เกี่ยวข้อง
แนวความคิดเรื่องสื่อประชาสัมพันธ์
“สื่อ” (Channel หรือ Media) เป็นองคประกอบสำคัญของกระบวนการสื่อสารเพราะสื่อทำหน้าที่เป็น
์
พาหนะหรือตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ซึ่งหากไม่มีสื่อเป็น
ตัวกลางนำสารไปยังผู้รับสารแล้วการสื่อสารนั้น ๆ ย่อมมิอาจบังเกิดอย่างไรก็ดี“สื่อ”ทใช้ในความหมายของการ
ี่
ติดต่อสื่อสารนั้นสามารถแปลความหมายได้อย่างกว้างขวางตามลักษณะและตามวัตถุประสงค์ในการจำแนกประเภท
ของสื่อซึ่งในบางครั้งก็มกจะมความหมายซ้ำซ้อนกับ“สาร”หรือองค์ประกอบอื่น ๆ ของการสื่อสารที่มีลักษณะบทบาท
ั
ี
หน้าที่ที่คล้ายคลึงกน
ั
ฮาโรลด์ดีลาสเวลล์ (Harold D. Laswell, 1984) กล่าวถึง กระบวนการติดต่อสื่อสาร และกล่าวถึงสื่อไว้โดย
กล่าวเป็นคำถามง่าย ๆ ว่าใครกล่าวอะไร ในช่องทางใดแก่ใครเกิดผลอย่างไรซึ่งคำว่าช่องทางใดหมายถึงสื่อประเภท
ต่าง ๆ ที่จะนำข่าวสารไหลสู่กลุ่มเป้าหมาย ตามที่ผู้ส่งสารกำหนดไว้
สอดคล้องกับแนวคิดของชวรัตน์ เชิดชัย (2527) กล่าวถึงไว้ว่า “สื่อ” คือ ช่องทางข่าวสาร (Channel) ซึ่ง
อาจจะเป็นคำพูด ตัวอักษร หรืออย่างอื่น โดยประยุกต์มาจากในระบบการสื่อสารโทรคมนาคม “สื่อ” จึงหมายถึง
หนทางซึ่งผู้ส่งสารใช้ส่งข่าวสารไปสู่ผู้รับหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่าเป็นช่องทางข่าวสารหรือพาหนะที่นําข่าวสารจาก
จุดเริ่มต้นไปสู่จุดหมายปลายทางนั่นเอง
เดวิด เคเบอร์โล (David K. Berlo, 1960) และนักทฤษฎีทางการสื่อสารได้แยกความหมายของสื่อออก
เป็น 3 ประการคือ
1. วิธีการเขารหัส และถอดรหัสสาร ได้แก่ กริยาของการสร้างสารเช่นการพูดหรือการเขียนถือเป็นการเขารหัส
้
้
่
2. ตัวนำสาร ได้แก วิทยุ/โทรทัศน์/โทรศัพท์/ภาพถ่าย/เอกสาร เป็นต้น รวมถึงพาหะที่นําข่าวสารไปสู่ผู้รับ
3. ตัวพาหะ ได้แก่ ตัวทำหน้าที่นำข่าวสารไป เช่น สายเคเบิ้ลที่ใช่ส่งสัญญาณเคเบิ้ลทีวี หรือโทรทัศน์ตามสาย
ไปยังบ้านสมาชิกหรืออากาศซึ่งเป็นตัวนำคลื่นเสียงวิทยุดาวเทียมซึ่งเป็นตัวกลางรับสัญญาณวิทยุกระจายเสียงวิทยุ
โทรทัศน์จากสถานีหนึ่งไปยังอกสถานีหนึ่งที่อยู่ห่างไกลเพื่อออกอากาศในท้องถิ่นนั้น
ี
“การประชาสัมพนธ์” แปลมาจากคำในภาษาองกฤษ คือ Public Relations โดยคำว่า Public แปลเป็น
ั
ั
ภาษาไทย คือ ประชา ซึ่งหมายถึง หมู่คน และคำว่า Relations แปลเป็นภาษาไทย คือ สัมพันธ์ ซึ่งหมายถึง
ั
การผูกพน ดังนั้น คำว่าการประชาสัมพันธ์เมื่อแปลตามตัวอกษรก็จะได้ความหมายว่า “การเกี่ยวข้องผูกพันกับหมู่คน”
ั
สื่อกลายเป็นองค์ประกอบที่ขาดเสียไม่ได้ในการสื่อสารทุกรูปแบบและทุกประเภทการประชาสัมพันธ์มีความหมาย
3 ประการ ด้วยกันคือ 1) เผยแพร่ชี้แจงให้ประชาชนทราบ
2) ชักชวนให้ประชาชนมีส่วนร่วมด้วยตลอดจนเห็นด้วยกับวัตถุประสงค์และวิธีดำเนินงานของสถาบัน
3) ประสานความคิดเห็นของกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับจุดมุ่งหมายและวิธีการดำเนินงานของสถาบัน
Development of Electronic Guidance Books at Kasetsart University from Hard Copy to E-book : A Study of User Satisfaction and Impact 10 | P a g e