Page 8 -
P. 8
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1459 3224
1112
2214
748 2177
ั
ั
ส าหรับข ้าวโพดหวานฝกสดที่มีการปลูกและปฏิบัติดูแลรกษาคล ้ายๆกันกับการผลิตพืชผัก และส่วนใหญ่
จะปลูกภายใต ้การส่งเสริม การควบคุมและการจัดการของผู้ประกอบการ ผลผลิตของเกษตรกรจึงต ่ากว่า
ผลผลิตแปลงวิจัยในระดับไร-นาเกษตรกรเพียง 1-2 เปอร์เซ็นต์ แต่เนื่องจากการปลูกทดลองในระดับ
่
ี
ั
สถานวิจัย จะมีการใช ้ พันธุ์ เครื่องจกรกลการเกษตร แรงงานและการปฏิบัติดูแลรักษาที่เข ้มข ้นกว่า ท า
่
ี
ให ้ผลผลิตในสถานวิจัย สูงกว่าการทดลองในระดับไร-นาเกษตรกรถึง 46 เปอร์เซ็นต์
ดังน้น ในจุดมุ่งหมายสุดท ้ายของงานวิจัย คือการนาเทคโนโลยีที่ได ้จากการวิจัยและมีความคุ ้มค่าทาง
ั
เศรษฐศาสตร์ เผยแพรสู่เกษตรกรในพื้นที่เปาหมายให ้นาไปใช ้ โดยตรงหรือนาไปประยุกต์ใช ้ เพื่อการ
้
่
็
ี้
เพิ่มผลได ้ ซึ่งกระบวนการสู่ความส าเรจน ตั้งแต่ต ้นทาง กลางทางและปลายทาง จะมีผู้เกี่ยวข ้องอัน
ได ้แก่ นักวิจัย เกษตรกร นักพัฒนาส่งเสริมผลิตภัณฑ์และนักพัฒนาการตลาด ที่มีความเกี่ยวข ้องและ
ความรับผิดชอบที่แตกต่างกัน ดังต่อไปน ี้
ภาระกิจและความรับผิดชอบการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดสู่เกษตรกร
ภาระกิจรับผิดชอบ (%)
ผู้รับผิดชอบ
นักวิจัยระดับสถานีวิจัย นักวิจัยระดับไร่-นา Product Development Market Development
นักวิจัยระดับสถานีวิจัย 90 10 5 0
นักวิจัยระดับไร่-นาเกษตรกร 10 80 25 0
เกษตรกร 0 10 25 0
นักส่งเสริมผลิตภัณฑ์ 0 0 35 10
นักส่งเสริมการตลาด 0 0 10 90
ไร่-นาเกษตรกร (Farmer Fields) เปนพื้นที่ที่ถูกก าหนดให ้นาผลการวิจัยที่ได ้รับการเลือกคัดจากสถาน ี
็
ี
วิจัยมาปลูกทดสอบ เพื่อให ้เห็นผลที่แท ้จริงในสภาพพื้นที่ต่างๆ ที่อาจเหมือนหรือแตกต่างจากสถานวิจัย
7