Page 7 -
P. 7
ิ
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
์
ิ
ิ
บทที่ 1
ความส าคัญของงานวิจัยในระดับไร่-นาเกษตรกร
ั
ู
งานวิจัยด ้านการเกษตร นอกจากจะเป็นการเสาะแสวงหาและพัฒนาความร้ใหม่ๆและความช านาญให ้กบ
ั
็
ั
ั
ั
ตัวนกวิจัยเองแล ้ว ผลที่ได ้รบจากการวิจัย ยังจะเปนประโยชน์ส าหรับนกวิจัยอื่นๆรวมทั้งนกวิจัยรุ่นใหม่ ที่
จะนามาใช ้ ในการต่อยอด เพื่อให ้ได ้ผลจากการวิจัยมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น อันจะนามาซึ่งการถ่ายทอดองค์
ความร้ให ้กับเกษตรกร ที่จะนาไปปรับใช ้ ในการเพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณภาพของผลผลิตและเปนการเพิ่ม
ู
็
รายได ้ให ้กับเกษตรกร
็
สถานที่ปฏิบัติงานวิจัยข ้าวโพด สามารถจาแนกได ้อย่างกว ้างๆเปน 2 หน่วย คืองานวิจัยในระดับสถานี
ั
วิจัย (On-Station Research) ที่มีความพร้อมในเรื่องปจจัยการผลิต เครื่องจักรกลและแรงงาน โดย
ั
มุ่งเน้นในเรื่องการปรับปรุงพนธุ์และการเขตกรรมเพื่อการเพิ่มผลผลิต โดยเฉพาะในด ้านการปรับปรุงพันธุ์
ที่จะมีการทดสอบผลผลิตเปนข้นตอน ได ้แก่การทดสอบพันธุ์เบื้องต ้น (Preliminary Yield Trial) และ
็
ั
ตามด ้วยการทดสอบพันธุ์ข้นพื้นฐาน (Standard Yield Trial) รวมถึงการทดสอบพันธุ์ในระดับท ้องถิ่น
ั
(Regional Yield Trial)
่
็
งานวิจัยอีกหนวยหนึ่งคืองานวิจัยในระดับไร่-นาเกษตรกร (On-Farm Research) ซึ่งจะเปนการทดสอบ
ั
พันธุกรรมของข ้าวโพดภายใต ้สภาพแวดล ้อมที่หลากหลาย รวมทั้งการศึกษาและการจัดการปจจัยการ
ผลิตที่มีผลต่อการเพิ่มผลผลิตในไร่-นาเกษตรกร ซึ่งพนธุ์ของข ้าวโพดและปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมที่
ั
ถูกวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์แล ้ว สามารถน ามาเปรียบเทียบกับวิธีการผลิตของเกษตรกรในแปลงสาธิต
ในแต่ละพื้นที่ ให ้เกษตรกรได ้เห็นภาพและเห็นค่าความคุ ้มกับการลงทุน เพื่อจะนาไปประยุกต์ใช ้ ส าหรับ
การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลผลิตของเกษตรกรเอง
งานวิจัยในระดับสถานีวิจัย
งานวิจัยในระดับไร่-นาเกษตรกร
ั
จากการสืบค ้นและรวบรวมข ้อมูลผลการวิจัยข ้าวโพดเลี้ยงสัตว์และข ้าวโพดหวานฝกสด ในระดับสถาน ี
วิจัยและในระดับไร-นาเกษตรกรในช่วงป 2563-2564 รวมทั้งจากรายงานของส านกงานเศรษฐกิจ
ั
ี
่
การเกษตรป 2565-2566 พบว่า ผลผลิตข ้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ยทั้งประเทศเท่ากับ 748 กิโลกรัมต่อไร่
ี
ในขณะที่ผลิตที่ได ้จากการทดลองในสถานวิจัยมีค่าเฉลี่ย 1,459 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อนาเทคโนโลยี
ี
ในระดับสถานีวิจัย ไปทดสอบในสภาพไร-นาเกษตรกร จะได ้รับผลผลิตเฉลี่ยจากสภาพแวดล ้อมต่างๆ
่
เพียง 1,112 กิโลกรัมต่อไร่ แสดงให ้เห็นว่า พันธุ์ข ้าวโพด สภาพอากาศและลักษณะดิน มีผลทาให ้
ผลผลิตแตกต่างกัน ในขณะที่การปลูกข ้าวโพดของเกษตรกร โดยเลือกใช ้ พันธุ์ วิธีการปลูก อัตราปลูก
ี
๋
้
อัตราปุย การปองกันก าจัดวัชพืช โรค แมลง และสัตว์ศัตรูที่แตกต่างจากการปฏิบัติทั้งในระดับสถานวิจัย
ั
และในระดับไร่-นาเกษตรกร ที่ปฏิบัติดูแลรักษาโดยนกวิจัย มีผลผลิตที่แตกต่างกันถึง 33-51
เปอร์เซ็นต์
6